เรียงความเรื่อง AEC มีผลกระทบอย่างไรกับประเทศไทยเมื่อกล่าวถึงคำว่าอาเซ การแปล - เรียงความเรื่อง AEC มีผลกระทบอย่างไรกับประเทศไทยเมื่อกล่าวถึงคำว่าอาเซ อังกฤษ วิธีการพูด

เรียงความเรื่อง AEC มีผลกระทบอย่างไ

เรียงความ
เรื่อง AEC มีผลกระทบอย่างไรกับประเทศไทย
เมื่อกล่าวถึงคำว่าอาเซียน หลายคนคงรับทราบแล้วว่าในปีพุทธศักราช 2558 หรือคริสศักราช 2015 ประเทศไทยและ อีก 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะรวมกันเพื่อความเป็นหนึ่งและมั่นคงทางภูมิภาค และที่ได้ยินเรียกกันบ่อยครั้ง เป็นภาษาอังกฤษว่า "AEC”
ขออธิบายเพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่าอาเซียนดังนี้ อาเซียน คือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ ASEAN) โดยการจัดตั้งในครั้งแรกมีจุดประสงค์เพื่อ ส่งเสริมและร่วมมือในเรื่องสันติภาพ,ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ความรู้, สังคมวัฒนธรรม บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดยอาเซียนได้ก่อตั้งขึ้นโดย ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 5 ประเทศคือ 1.ไทย 2.สิงคโปร์ 3.มาเลเซีย 4.ฟิลิปปินส์ 5.อินโดนีเซีย อาเซียน รวมตัวกันเพื่อ ความร่วมมือกันทางการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม และได้มีการพัฒนาการเรื่อยมา จนถึงขณะนี้ที่เรามีกฎบัตรอาเซียน (ธรรมนูญ อาเซียน หรือ ASEAN Charter) ซึ่งเป็นเสมือนแนวทางการดำเนินงานที่จะนำไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนซึ่งประกอบด้วย 3 สิ่งหลักๆ คือ 1.การเมืองความมั่นคง (Socio-Cultural Pillar) 2.เศรษฐกิจ (Asean Economic Community:AEC) 3.สังคมและวัฒนธรรม (Political and Security Pillar) แม้ว่าประเทศไทยจะมีปัญหาบางด้านแต่ก็เป็นประเทศหนึ่งที่ มีความได้เปรียบและมีจุดแข็งหลายด้านเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน ด้านตลาดแรงงาน พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับต่ำ โดยในเดือน ธ.ค. 2554 ที่ผ่านมา อัตราการว่างงานของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ำเพียงร้อยละ 0.4 ของประชากรที่อยู่ในวัยแรงงาน ขณะที่ประสิทธิภาพของแรงงาน (Labor Productivity) ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในอาเซียน และมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆตามลําดับ ขณะเดียวกัน รายได้ประชากรต่อหัวของไทยที่ได้รับโดยเฉลี่ยก็อยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม แต่ต่ำกว่าเฉพาะสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย ด้านการท่องเที่ยว พบว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับไปทั่วโลก โดยกระทรวงการต่างประเทศแจ้งว่า ประเทศไทยได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยว Grand Travel Award Stockholm ประจําปี ค.ศ.2011 สาขาประเทศท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมสูงสุด (Best Tourist Country)และเป็นปีที่ 9 ที่ ไทยได้รับรางวัลดังกล่าวติดต่อกัน ขนาดของตลาด ภูมิภาคอาเซียนเป็นภูมิภาคที่ มีตลาดขนาดใหญ่ ยังมีศักยภาพที่ จะขยายตัวได้อีกมากในอนาคต โดยเฉพาะประเทศไทยมีจํานวนประชากรสูงถึง 66.7 ล้านคน มากเป็นอันดับ 4 รองจากประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ที่ มีประชากร 245.6 ล้านคน 101.8 ล้านคน และ 90.5 ล้านคน ตามลําดับ ขณะที่ เมื่อพิจารณาโครงสร้างอายุประชากรของประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว พบว่า มีความคล้ายคลึงกันโดยประชากรส่วนใหญ่ในแต่ละประเทศอยู่ในวัยหนุ่มสาวและวัยทํางาน (อายุระหว่าง 15-64 ปี) ประมาณร้อยละ 70 ของประชากรทั้งหมดใน ซึ่งไทยได้ผูกพันเปิดตลาดทั้งหมด 143 รายการ ตามข้อตกลงการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งครอบคลุมสาขาบริการหลัก อาทิ บริการวิชาชีพ (ได้แก่ วิชาชีพวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และบัญชี เป็นต้น) คอมพิวเตอร์และการสื่อสารการ ก่อสร้าง การจัดจําหน่าย (อาทิ บริการค้าส่งเครื่องกีฬาและบริการแฟรนไชส์ เป็นต้น) การศึกษาในทุกระดับ บริการด้านสุขภาพ บริการสิ่งแวดล้อม และบริการท่องเที่ยว เป็นต้น ตลอดจนการวางยุทธศาสตร์ของประเทศโดยใช้จุดแข็งที่กล่าวมาแล้วให้เป็น ประโยชน์มากยิ่งขึ้นกว่าที่เป็นอยู่และเพื่อให้ได้ประโยชน์จากการเข้าสู่ AEC มากที่สุด
ปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดความล่าช้า แม้ชาติสมาชิกจะทยอยลดภาษีสินค้าระหว่างกันเหลือ 0% จนเกือบหมดแล้ว มาจากการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าที่มีทั้งของเดิม และของใหม่หลาย ๆ ประเทศออกมาเพิ่มอย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในให้อยู่รอดจากการเปิดเสรี นอกจากนี้ยังติดปัญหาการพัฒนาธุรกิจขนาดเล็กและSMEs ที่ยังไม่สามารถตกลงได้ลงตัว โดยไทย เวียดนาม กัมพูชา ต้องการให้อาเซียนตั้งกองทุนสนับสนุนการเงินแก่SMEsแก่ชาติสมาชิก แต่ประเทศสิงคโปร์ซึ่งส่วนใหญ่มีธุรกิจSMEsน้อยไม่เห็นด้วย และไม่ต้องการให้จัดตั้งกองทุน ส่งผลให้แนวทางช่วยเหลือนี้ยังชะงักงัน นอกจากนี้ยังติดปัญหาเรื่องการเปิดเสรีภาคบริการล่าช้า เพราะแต่ละประเทศติดปัญหาเรื่องกฎหมายเฉพาะภายในของตนเอง ดังนั้นโอกาสที่ชาติอาเซียนจะกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เหมือนการรวมตัวกันของยุโรปเพื่อเป็นสหภาพยุโรป (อียู) จึงไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะไม่ใช่แค่ปัญหาเงื่อนไขทางการค้า แต่ชาติอาเซียนยังมีช่องว่างความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และภาษาอยู่มาก โดยมีภาษาประจำชาติแตกต่างกันถึง 8 ภาษา มีศาสนาทั้งพุทธ อิสลาม คริสต์ และอาณาเขตดินยังถึงแบ่งกั้นด้วยทะเล มหาสมุทร ต่างจากทวีปยุโรปที่คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ และมีแผ่นดินเชื่อมต่อถึงกัน ประกอบกับยังมีปัญหาทางเทคนิค เช่น ขาดการเชื่อมโยงพิธีการด่านศุลกากร รวมถึงการตรวจคนเข้าเมือง ที่ยังไม่พร้อมภาพของการเปิดAECจริง หลังจากปี 58 จึงน่าจะเป็นการเปิดเสรีค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถกดปุ่มเปลี่ยนเป็นการค้าเสรีได้เต็มตัว และภาคีสมาชิกยังคงต้องติดตามแก้ปัญหาตามกันต่อเนื่อง ทั้งเรื่องมาตรการกีดกันทางการค้า ระบบเทคนิคต่าง ๆ แต่หากมองในแง่ดีแล้ว ปัญหาเหล่านี้จะเป็นเหมือนยาคุ้มครองให้ธุรกิจที่เสียเปรียบอยู่ โดยเฉพาะรายเล็กและSMEsได้มีเวลาปรับตัวมากขึ้นท่ามกลางระบบปลาใหญ่กินปลาเล็ก เพราะการเปิดAECถือเป็นประสบการณ์ใหม่ของทุกคน

ในสภาวะกระแสเศรษฐกิจของโลกที่เชื่อมต่อกันทั้งระบบไม่มีประเทศใดที่สามารถอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้ จึงต้องมีการรวมตัวกันของประเทศในแต่ละภูมิภาคเพื่อเพิ่มอำนาจในการต่อรอง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วมและพัฒนาประเทศในภูมิภาคไปพร้อมๆกัน ด้วยเหตุนี้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงมีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แม้จะมีการระบุถึงจุดเด่นและแผนการทางสินค้าบริการทางเศรษฐกิจในแต
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เรียงความเรื่อง AEC มีผลกระทบอย่างไรกับประเทศไทยเมื่อกล่าวถึงคำว่าอาเซียน หลายคนคงรับทราบแล้วว่าในปีพุทธศักราช 2558 หรือคริสศักราช 2015 ประเทศไทยและ อีก 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะรวมกันเพื่อความเป็นหนึ่งและมั่นคงทางภูมิภาค และที่ได้ยินเรียกกันบ่อยครั้ง เป็นภาษาอังกฤษว่า "AEC” ขออธิบายเพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่าอาเซียนดังนี้ อาเซียน คือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ ASEAN) โดยการจัดตั้งในครั้งแรกมีจุดประสงค์เพื่อ ส่งเสริมและร่วมมือในเรื่องสันติภาพ,ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ความรู้, สังคมวัฒนธรรม บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดยอาเซียนได้ก่อตั้งขึ้นโดย ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 5 ประเทศคือ 1.ไทย 2.สิงคโปร์ 3.มาเลเซีย 4.ฟิลิปปินส์ 5.อินโดนีเซีย อาเซียน รวมตัวกันเพื่อ ความร่วมมือกันทางการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม และได้มีการพัฒนาการเรื่อยมา จนถึงขณะนี้ที่เรามีกฎบัตรอาเซียน (ธรรมนูญ อาเซียน หรือ ASEAN Charter) ซึ่งเป็นเสมือนแนวทางการดำเนินงานที่จะนำไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนซึ่งประกอบด้วย 3 สิ่งหลักๆ คือ 1.การเมืองความมั่นคง (Socio-Cultural Pillar) 2.เศรษฐกิจ (Asean Economic Community:AEC) 3.สังคมและวัฒนธรรม (Political and Security Pillar) แม้ว่าประเทศไทยจะมีปัญหาบางด้านแต่ก็เป็นประเทศหนึ่งที่ มีความได้เปรียบและมีจุดแข็งหลายด้านเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน ด้านตลาดแรงงาน พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับต่ำ โดยในเดือน ธ.ค. 2554 ที่ผ่านมา อัตราการว่างงานของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ำเพียงร้อยละ 0.4 ของประชากรที่อยู่ในวัยแรงงาน ขณะที่ประสิทธิภาพของแรงงาน (Labor Productivity) ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในอาเซียน และมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆตามลําดับ ขณะเดียวกัน รายได้ประชากรต่อหัวของไทยที่ได้รับโดยเฉลี่ยก็อยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม แต่ต่ำกว่าเฉพาะสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย ด้านการท่องเที่ยว พบว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับไปทั่วโลก โดยกระทรวงการต่างประเทศแจ้งว่า ประเทศไทยได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยว Grand Travel Award Stockholm ประจําปี ค.ศ.2011 สาขาประเทศท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมสูงสุด (Best Tourist Country)และเป็นปีที่ 9 ที่ ไทยได้รับรางวัลดังกล่าวติดต่อกัน ขนาดของตลาด ภูมิภาคอาเซียนเป็นภูมิภาคที่ มีตลาดขนาดใหญ่ ยังมีศักยภาพที่ จะขยายตัวได้อีกมากในอนาคต โดยเฉพาะประเทศไทยมีจํานวนประชากรสูงถึง 66.7 ล้านคน มากเป็นอันดับ 4 รองจากประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ที่ มีประชากร 245.6 ล้านคน 101.8 ล้านคน และ 90.5 ล้านคน ตามลําดับ ขณะที่ เมื่อพิจารณาโครงสร้างอายุประชากรของประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว พบว่า มีความคล้ายคลึงกันโดยประชากรส่วนใหญ่ในแต่ละประเทศอยู่ในวัยหนุ่มสาวและวัยทํางาน (อายุระหว่าง 15-64 ปี) ประมาณร้อยละ 70 ของประชากรทั้งหมดใน ซึ่งไทยได้ผูกพันเปิดตลาดทั้งหมด 143 รายการ ตามข้อตกลงการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งครอบคลุมสาขาบริการหลัก อาทิ บริการวิชาชีพ (ได้แก่ วิชาชีพวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และบัญชี เป็นต้น) คอมพิวเตอร์และการสื่อสารการ ก่อสร้าง การจัดจําหน่าย (อาทิ บริการค้าส่งเครื่องกีฬาและบริการแฟรนไชส์ เป็นต้น) การศึกษาในทุกระดับ บริการด้านสุขภาพ บริการสิ่งแวดล้อม และบริการท่องเที่ยว เป็นต้น ตลอดจนการวางยุทธศาสตร์ของประเทศโดยใช้จุดแข็งที่กล่าวมาแล้วให้เป็น ประโยชน์มากยิ่งขึ้นกว่าที่เป็นอยู่และเพื่อให้ได้ประโยชน์จากการเข้าสู่ AEC มากที่สุดปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดความล่าช้า แม้ชาติสมาชิกจะทยอยลดภาษีสินค้าระหว่างกันเหลือ 0% จนเกือบหมดแล้ว มาจากการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าที่มีทั้งของเดิม และของใหม่หลาย ๆ ประเทศออกมาเพิ่มอย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในให้อยู่รอดจากการเปิดเสรี นอกจากนี้ยังติดปัญหาการพัฒนาธุรกิจขนาดเล็กและSMEs ที่ยังไม่สามารถตกลงได้ลงตัว โดยไทย เวียดนาม กัมพูชา ต้องการให้อาเซียนตั้งกองทุนสนับสนุนการเงินแก่SMEsแก่ชาติสมาชิก แต่ประเทศสิงคโปร์ซึ่งส่วนใหญ่มีธุรกิจSMEsน้อยไม่เห็นด้วย และไม่ต้องการให้จัดตั้งกองทุน ส่งผลให้แนวทางช่วยเหลือนี้ยังชะงักงัน นอกจากนี้ยังติดปัญหาเรื่องการเปิดเสรีภาคบริการล่าช้า เพราะแต่ละประเทศติดปัญหาเรื่องกฎหมายเฉพาะภายในของตนเอง ดังนั้นโอกาสที่ชาติอาเซียนจะกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เหมือนการรวมตัวกันของยุโรปเพื่อเป็นสหภาพยุโรป (อียู) จึงไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะไม่ใช่แค่ปัญหาเงื่อนไขทางการค้า แต่ชาติอาเซียนยังมีช่องว่างความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และภาษาอยู่มาก โดยมีภาษาประจำชาติแตกต่างกันถึง 8 ภาษา มีศาสนาทั้งพุทธ อิสลาม คริสต์ และอาณาเขตดินยังถึงแบ่งกั้นด้วยทะเล มหาสมุทร ต่างจากทวีปยุโรปที่คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ และมีแผ่นดินเชื่อมต่อถึงกัน ประกอบกับยังมีปัญหาทางเทคนิค เช่น ขาดการเชื่อมโยงพิธีการด่านศุลกากร รวมถึงการตรวจคนเข้าเมือง ที่ยังไม่พร้อมภาพของการเปิดAECจริง หลังจากปี 58 จึงน่าจะเป็นการเปิดเสรีค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถกดปุ่มเปลี่ยนเป็นการค้าเสรีได้เต็มตัว และภาคีสมาชิกยังคงต้องติดตามแก้ปัญหาตามกันต่อเนื่อง ทั้งเรื่องมาตรการกีดกันทางการค้า ระบบเทคนิคต่าง ๆ แต่หากมองในแง่ดีแล้ว ปัญหาเหล่านี้จะเป็นเหมือนยาคุ้มครองให้ธุรกิจที่เสียเปรียบอยู่ โดยเฉพาะรายเล็กและSMEsได้มีเวลาปรับตัวมากขึ้นท่ามกลางระบบปลาใหญ่กินปลาเล็ก เพราะการเปิดAECถือเป็นประสบการณ์ใหม่ของทุกคน
ในสภาวะกระแสเศรษฐกิจของโลกที่เชื่อมต่อกันทั้งระบบไม่มีประเทศใดที่สามารถอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้ จึงต้องมีการรวมตัวกันของประเทศในแต่ละภูมิภาคเพื่อเพิ่มอำนาจในการต่อรอง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วมและพัฒนาประเทศในภูมิภาคไปพร้อมๆกัน ด้วยเหตุนี้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงมีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แม้จะมีการระบุถึงจุดเด่นและแผนการทางสินค้าบริการทางเศรษฐกิจในแต
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เรียงความ
เรื่อง AEC มีผลกระทบอย่างไรกับประเทศไทย
เมื่อกล่าวถึงคำว่าอาเซียน หลายคนคงรับทราบแล้วว่าในปีพุทธศักราช 2558 หรือคริสศักราช 2015 ประเทศไทยและ อีก 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะรวมกันเพื่อความเป็นหนึ่งและมั่นคงทางภูมิภาค และที่ได้ยินเรียกกันบ่อยครั้ง เป็นภาษาอังกฤษว่า "AEC”
ขออธิบายเพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่าอาเซียนดังนี้ อาเซียน คือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ ASEAN) โดยการจัดตั้งในครั้งแรกมีจุดประสงค์เพื่อ ส่งเสริมและร่วมมือในเรื่องสันติภาพ,ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ความรู้, สังคมวัฒนธรรม บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดยอาเซียนได้ก่อตั้งขึ้นโดย ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 5 ประเทศคือ 1.ไทย 2.สิงคโปร์ 3.มาเลเซีย 4.ฟิลิปปินส์ 5.อินโดนีเซีย อาเซียน รวมตัวกันเพื่อ ความร่วมมือกันทางการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม และได้มีการพัฒนาการเรื่อยมา จนถึงขณะนี้ที่เรามีกฎบัตรอาเซียน (ธรรมนูญ อาเซียน หรือ ASEAN Charter) ซึ่งเป็นเสมือนแนวทางการดำเนินงานที่จะนำไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนซึ่งประกอบด้วย 3 สิ่งหลักๆ คือ 1.การเมืองความมั่นคง (Socio-Cultural Pillar) 2.เศรษฐกิจ (Asean Economic Community:AEC) 3.สังคมและวัฒนธรรม (Political and Security Pillar) แม้ว่าประเทศไทยจะมีปัญหาบางด้านแต่ก็เป็นประเทศหนึ่งที่ มีความได้เปรียบและมีจุดแข็งหลายด้านเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน ด้านตลาดแรงงาน พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับต่ำ โดยในเดือน ธ.ค. 2554 ที่ผ่านมา อัตราการว่างงานของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ำเพียงร้อยละ 0.4 ของประชากรที่อยู่ในวัยแรงงาน ขณะที่ประสิทธิภาพของแรงงาน (Labor Productivity) ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในอาเซียน และมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆตามลําดับ ขณะเดียวกัน รายได้ประชากรต่อหัวของไทยที่ได้รับโดยเฉลี่ยก็อยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม แต่ต่ำกว่าเฉพาะสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย ด้านการท่องเที่ยว พบว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับไปทั่วโลก โดยกระทรวงการต่างประเทศแจ้งว่า ประเทศไทยได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยว Grand Travel Award Stockholm ประจําปี ค.ศ.2011 สาขาประเทศท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมสูงสุด (Best Tourist Country)และเป็นปีที่ 9 ที่ ไทยได้รับรางวัลดังกล่าวติดต่อกัน ขนาดของตลาด ภูมิภาคอาเซียนเป็นภูมิภาคที่ มีตลาดขนาดใหญ่ ยังมีศักยภาพที่ จะขยายตัวได้อีกมากในอนาคต โดยเฉพาะประเทศไทยมีจํานวนประชากรสูงถึง 66.7 ล้านคน มากเป็นอันดับ 4 รองจากประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ที่ มีประชากร 245.6 ล้านคน 101.8 ล้านคน และ 90.5 ล้านคน ตามลําดับ ขณะที่ เมื่อพิจารณาโครงสร้างอายุประชากรของประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว พบว่า มีความคล้ายคลึงกันโดยประชากรส่วนใหญ่ในแต่ละประเทศอยู่ในวัยหนุ่มสาวและวัยทํางาน (อายุระหว่าง 15-64 ปี) ประมาณร้อยละ 70 ของประชากรทั้งหมดใน ซึ่งไทยได้ผูกพันเปิดตลาดทั้งหมด 143 รายการ ตามข้อตกลงการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งครอบคลุมสาขาบริการหลัก อาทิ บริการวิชาชีพ (ได้แก่ วิชาชีพวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และบัญชี เป็นต้น) คอมพิวเตอร์และการสื่อสารการ ก่อสร้าง การจัดจําหน่าย (อาทิ บริการค้าส่งเครื่องกีฬาและบริการแฟรนไชส์ เป็นต้น) การศึกษาในทุกระดับ บริการด้านสุขภาพ บริการสิ่งแวดล้อม และบริการท่องเที่ยว เป็นต้น ตลอดจนการวางยุทธศาสตร์ของประเทศโดยใช้จุดแข็งที่กล่าวมาแล้วให้เป็น ประโยชน์มากยิ่งขึ้นกว่าที่เป็นอยู่และเพื่อให้ได้ประโยชน์จากการเข้าสู่ AEC มากที่สุด
ปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดความล่าช้า แม้ชาติสมาชิกจะทยอยลดภาษีสินค้าระหว่างกันเหลือ 0% จนเกือบหมดแล้ว มาจากการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าที่มีทั้งของเดิม และของใหม่หลาย ๆ ประเทศออกมาเพิ่มอย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในให้อยู่รอดจากการเปิดเสรี นอกจากนี้ยังติดปัญหาการพัฒนาธุรกิจขนาดเล็กและSMEs ที่ยังไม่สามารถตกลงได้ลงตัว โดยไทย เวียดนาม กัมพูชา ต้องการให้อาเซียนตั้งกองทุนสนับสนุนการเงินแก่SMEsแก่ชาติสมาชิก แต่ประเทศสิงคโปร์ซึ่งส่วนใหญ่มีธุรกิจSMEsน้อยไม่เห็นด้วย และไม่ต้องการให้จัดตั้งกองทุน ส่งผลให้แนวทางช่วยเหลือนี้ยังชะงักงัน นอกจากนี้ยังติดปัญหาเรื่องการเปิดเสรีภาคบริการล่าช้า เพราะแต่ละประเทศติดปัญหาเรื่องกฎหมายเฉพาะภายในของตนเอง ดังนั้นโอกาสที่ชาติอาเซียนจะกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เหมือนการรวมตัวกันของยุโรปเพื่อเป็นสหภาพยุโรป (อียู) จึงไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะไม่ใช่แค่ปัญหาเงื่อนไขทางการค้า แต่ชาติอาเซียนยังมีช่องว่างความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และภาษาอยู่มาก โดยมีภาษาประจำชาติแตกต่างกันถึง 8 ภาษา มีศาสนาทั้งพุทธ อิสลาม คริสต์ และอาณาเขตดินยังถึงแบ่งกั้นด้วยทะเล มหาสมุทร ต่างจากทวีปยุโรปที่คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ และมีแผ่นดินเชื่อมต่อถึงกัน ประกอบกับยังมีปัญหาทางเทคนิค เช่น ขาดการเชื่อมโยงพิธีการด่านศุลกากร รวมถึงการตรวจคนเข้าเมือง ที่ยังไม่พร้อมภาพของการเปิดAECจริง หลังจากปี 58 จึงน่าจะเป็นการเปิดเสรีค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถกดปุ่มเปลี่ยนเป็นการค้าเสรีได้เต็มตัว และภาคีสมาชิกยังคงต้องติดตามแก้ปัญหาตามกันต่อเนื่อง ทั้งเรื่องมาตรการกีดกันทางการค้า ระบบเทคนิคต่าง ๆ แต่หากมองในแง่ดีแล้ว ปัญหาเหล่านี้จะเป็นเหมือนยาคุ้มครองให้ธุรกิจที่เสียเปรียบอยู่ โดยเฉพาะรายเล็กและSMEsได้มีเวลาปรับตัวมากขึ้นท่ามกลางระบบปลาใหญ่กินปลาเล็ก เพราะการเปิดAECถือเป็นประสบการณ์ใหม่ของทุกคน

ในสภาวะกระแสเศรษฐกิจของโลกที่เชื่อมต่อกันทั้งระบบไม่มีประเทศใดที่สามารถอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้ จึงต้องมีการรวมตัวกันของประเทศในแต่ละภูมิภาคเพื่อเพิ่มอำนาจในการต่อรอง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วมและพัฒนาประเทศในภูมิภาคไปพร้อมๆกัน ด้วยเหตุนี้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงมีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แม้จะมีการระบุถึงจุดเด่นและแผนการทางสินค้าบริการทางเศรษฐกิจในแต
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Essay on have an effect on how the AEC

.When referring to the ASEAN. Many people would know that the election in 2558 or Chris era 2015 Thailand and other 9 countries in Southeast Asia are combined to one and stable the regions.English AEC
. ""Explain to the understanding about the word ASEAN: ASEAN the association of Southeast Asian Nations (Association of. South East AsianNations or ASEAN) by establishing the first purpose.The security, economy, knowledge, social culture, on the basis of equality and mutual benefits of the member states. The ASEAN has established by the Bangkok Declaration (Bangkok Declaration) on 8 August 2008.2510 by co-founder 5 country is 1.) 2. Singapore 3. Malaysia 4 Philippines 5.Indonesia, ASEAN, gathered to cooperation political, security, economic and culture and the development of the time. Until now, we have the ASEAN Charter (charter, ASEAN, or ASEAN Charter).The main thing is 3 1.Political security (Socio-Cultural Pillar) 2. Economy (Asean Economic Community: AEC) 3.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: