เหนือตัณหา พ้นอุปทาน " ปริศนาธรรม
เหนือตัณหา คือ เหนือกว่าความอยาก มันเหนือกว่าทั้งความอยากและไม่อยากทั้งภาวะตัณหา และวิภาวะตัณหาใดๆ ทั้งมวล เหนือแล้วจากความอยากและไม่อยากได้ทั้งสองส่วน เหนืออุปทาน คือ เหนือกว่าความยึดมั่นถือมั่น ยึดก็ได้ ไม่ยึดก็ได้ แต่ไม่ตกอยู่ใต้ภาวะยึดและไม่ยึด เรียกว่าเหนืออุปทาน คือ พ้นแล้วจากทั้งภาวะยึดและไม่ยึด ย่อมใช้หรือไม่ใช้ความยึดและไม่ยึดเป็นบริวารได้
เหนือตัณหา เหนืออุปทาน ย่อมพ้นแล้ว คือ อยากก็ได้ ไม่อยากก็ได้ มันไม่เหนือเรา คือ จะยึดก็...ได้ ไม่ยึดก็ได้ มันไม่ใช่นายเหนือเรา เราใช้มันเป็นเหมือนเครื่องมือหนึ่ง เราไม่ใช่ทาสมัน คนที่ไม่หลุดพ้นจากตัณหา ย่อมเป็นทาสแห่งตัณหา ตัณหาคือความทะยานอยาก ย่อมกำหนดบงการเขาไปดุจนายผู้ขี่ม้า นั่งแล้วขับม้าให้โลดแล่นไปตามใจตนฉะนั้น เมื่อตัณหาครอบงำบุคคลได้ เขากลายเป็นม้าให้ตัณหานั้นขี่คนที่ไม่หลุดพ้นจากอุปทาน ย่อมเป็นทาสแห่งอุปทาน อุปทาน คือ ความยึดมั่นถือมั่นตัวตนของตนไว้ สิ่งนี้ย่อมครอบงำดุจนายผู้ขี่ลาโง่ฉะนั้น อุปทานเป็นคนขี่ลา ผู้ยึดเป็นลา ผู้ตกอยู่ใต้อำนาจแห่งตัณหา อุปทาน ย่อมเป็นทาสเขาเสียแล้วซึ่งอิสรภาพ ไม่อาจทำได้ดังใจอิสระ เขาย่อมถูกตัณหาและอุปทานขับเคลื่อนขี่ไป เพราะตกอยู่ใต้อำนาจตัณหาและอุปทานนั้น
เหนือตัณหา ย่อมใช้ความอยากและไม่อยากเป็นบริวารได้ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ไม่จำเป็นต้องพุ่งตรงสู่นิพพาน หันกลับมาขี่ตัณหา เป็นดั่งม้าศึกก็ได้ เรียกว่า “ผู้อยู่เหนือตัณหา” เหนืออุปทาน ย่อมใช้ความยึดมั่นของคนให้เป็นบริวารได้ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ไม่จำเป็นต้องตรงสู่นิพพาน หันกลับมาขี่อุปทาน เป็นดั่งลาโง่ก็ได้ เรียกว่า “ผู้อยู่เหนืออุปทาน” ผู้หลุดพ้นแล้วจากอำนาจแห่งตัณหาและอุปทานถึงพระนิพพานแล้วมีกำลังหวนกลับมาได้ คือ พุทธะหรือยูไลผู้อยู่เหนือมนุษย์ ชาวคริสต์เรียกเขาว่า “พระเจ้า”
................................วิมุตติ ธรรม...............................
" เหนืออารมณ์ พ้นรู้สึก " ปริศนาธรรม
ผู้ตกอยู่ใต้อำนาจแห่งอารมณ์ความรู้สึก ย่อมถูกอารมณ์ความรู้สึกพัดพาไปโดยง่าย
ไม่เป็นอิสระได้ ไม่เป็นตัวของตัวเองอย่างแท้จริง แม้จะคิดว่าเป็นตัวของตัวเองแล้ว ที่ปล่อยใจตามอารมณ์ ผู้อยู่เหนืออารมณ์ พ้นแล้วจากความรู้สึกหาใช่ว่าไม่มีอารมณ์หรือความรู้สึก แต่มีอยู่ในระดับที่ไม่อยู่เหนือตน ดังลมพัดพาแต่ไม่ใช่พายุ อารมณ์รัก, ชัง, โกรธ, เกลียด มันย่อมเป็นนายเมื่อเราน้อมยอมรับมันความเป็นทาสย่อมเกิดขึ้นแก่เราในทันที จึงควรอยู่เหนืออารมณ์และคว...ามรู้สึกผัสสะและเวทนาคือที่มาของอารมณ์และความรู้สึก ดุจลมที่พัดทำให้ใบไม้ไหวไปตามมันฉะนั้น เมื่อเราไหลตามกระแสอารมณ์ไปแล้ว อารมณ์ก็ควบคุมเราเป็นทาสมันผัสสะและเวทนาย่อมเกิดขึ้นเป็นธรรมดา ผู้อยู่เหนืออารมณ์และความรู้สึกแล้วย่อมไม่ตกเป็นทาสของสิ่งเหล่านี้ ย่อมมีผัสสะและเวทนาอันปกติ ผู้มีผัสสะและเวทนาอันไหลไป มิได้อยู่ในครรลองครองธรรม ตามปกติดุจใบไม้ที่หลุดตามแรงลมเพราะขาดรากยึด
บุคคลผู้มีปัญญาแจ้งชัดถึงที่สุดแห่งธรรม ย่อมมีปัญญาเป็นรากเหง้าพื้นฐานดุจหญ้าที่มีรากหยั่งลงในดินลึก ไม่หลุดลอยตามแรงลมพัด ผัสสะและเวทนามิใช่ปัญหา แต่เป็นเพียงธรรม ปัญหาอยู่ที่บุคคลไหลไปตามผัสสะและเวทนา เมื่อบุคคลไม่ไหลไปตามผัสสะและเวทนาแล้ว ย่อมเป็นผู้มีผัสสะและเวทนาอันปกติเป็นธรรมบุคคลผู้มีผัสสะและเวทนา อันปกติเป็นธรรม เป็นผู้ที่อยู่เหนืออารมณ์ พ้นความรู้สึกแล้วย่อมมีอารมณ์และความรู้สึกได้ตามปกติและมีผัสสะและเวทนาที่ไม่ก่อชาติภพ
..............................วิมุตติ ธรรม..................................
" เหนือนาม พ้นรูป " ปริศนาธรรม
บ้างนิยมฝึกแยกรูปแยกนาม ดูรูปดูนาม ฝึกไปไม่จบสิ้น วนอยู่แต่ในเรื่องรูปนาม
แต่ก็ยังไม่เกิดปัญญา นามคือฝั่งผู้รู้, รูปคือฝั่งที่ถูกรู้ เมื่อมีตัวผู้รู้ ก็มีตัวผู้ที่ถูกรู้ตามมา เมื่อหยินสร้างหยาง หยางก็สร้างหยินก่อเกิดอย่างนี้ ย่อมไม่ดับสนิท ไม่นิพพาน
...
เหนือนาม คือ เหนือฝั่งผู้รู้ เหนือจิต เหนือเจตสิก เหนือวิญญาณ จิตผู้รู้ เจตสิกผู้บดบัง วิญญาณผู้แต่งเสริมสามสิ่งนี้ ไม่อาจเหนือได้ พ้นแล้ว เหนือขึ้นไปแล้ว
เหนือรูป คือ เหนือฝั่งที่ถูกรู้ เหนือรูปธรรมใดๆ ที่ปรากฏผ่านอายตนะ รูป, รส, กลิ่น, เสียง, สัมผัสโผฏฐัพพะ, ธรรมารมณ์ สิ่งเหล่านี้ไม่อาจเหนือได้ พ้นแล้ว เหนือขึ้นไปแล้ว ดุจบัวพ้นน้ำ เหนือนาม ย่อมไม่หลงความรู้ภายในตน เหนือรูป ย่อมไม่หลงความรู้ ในธรรมรอบตน เหนือทั้งรูปและนาม ย่อมไม่หลงทั้งในและนอกโคจรอยู่ได้ทั้งในและนอก ไม่ติดทั้งในและนอกดังนี้
เหนือนาม ย่อมไม่ถูกนามธรรมหลอกหลอนครอบงำ พ้นแล้ว หลุดแล้วเสียจากพันธนาการในตัวเอง จึงไม่จำกัด ไม่คับแคบอยู่ในภายในตน นามธรรมใด จิตหรือผู้รู้ก็ไม่สำคัญ เหนือรูป ย่อมไม่ถูกรูปหลอกหลอน ครอบงำ กำหนดพ้นแล้ว หลุดแล้วจากพันธนาการ เป็นอิสระไม่จำกัด ไม่คับแคบในรูปธรรมใดๆ รูปธรรมใด ก็ล้วนอยู่ในกำมือ เหนือนาม เหนือรูป พ้นจากรูปนามไม่ต้องวนอยู่กับการดูรูปนามเพราะพ้นแล้ว อิสระแล้วไม่ต้องระวังกังวลอีก ผู้ไม่พ้นเสียจากรูปนาม ย่อมเพียรจมอยู่ เขาย่อมวนอยู่ แช่อยู่ ดองอยู่ในรูปนามนั้นไม่อาจทำนิพพานให้แจ้ง พรหมจรรย์ให้สิ้นได้ตกอยู่ในอำนาจของรูปนามนั้น ไม่อาจหลุดพ้นได้
...................................วิมุตติ ธรรม..................................
" เหนือสังขาร พ้นวิญญาณ " ปริศนาธรรม
เหนือสังขาร คือ สามารถใช้สังขารใดก็ได้ จิตวิญญาณในร่างกายเราจรไปได้
แล้วแทรกเข้าในสังขารผู้อื่น เพื่อใช้งานสังขารนั้นๆ
...
เหนือวิญญาณ คือ สามารถใช้จิตวิญญาณได้ จิตวิญญาณในร่างของเราจรออกไปได้ แล้วทำงานต่างๆ ได้โดยกายไม่ไป นี่จึงเรียกว่า “เหนือจิตวิญญาณ”
เหนือสังขาร เหนือวิญญาณ พิสดารแท้ กายสังขารผู้อื่นก็เหมือนสังขารของเรา
กายสังขารของเรา เหมือนไม่ใช่เรามีจิตวิญญาณผู้อื่นเข้ามาใช้ได้ด้วย เหนือสังขาร คือ แม้ไม่มีสังขารก็ทำกิจได้ ไม่มีสังขารใดๆ มาเป็นกรอบขีดขั้นอำนาจแห่งเรา
สังขารอื่นก็ดำเนินไปด้วยอำนาจแห่งธรรมเหนือสังขาร แม้สังขารของเราแตกตายไป ก็ไม่มีปัญหา เพราะเหนือแล้ว
จิตวิญญาณมีอำนาจและปัญญาต่างกัน เรามีจิตวิญญาณในกายจำกัด ทำงานอยู่
เหนือวิญญาณ คือ นำวิญญาณมาสู่ร่างได้ ทำให้ใช้งานจิตวิญญาณเหล่านั้นในร่างตนได้ เมื่อต้องการความสามารถในแบบพรหม ในกายสังขารไม
ผลลัพธ์ (
จีนดั้งเดิม) 2:
[สำเนา]คัดลอก!
เหนือตัณหา พ้นอุปทาน " ปริศนาธรรม
เหนือตัณหา คือ เหนือกว่าความอยาก มันเหนือกว่าทั้งความอยากและไม่อยากทั้งภาวะตัณหา และวิภาวะตัณหาใดๆ ทั้งมวล เหนือแล้วจากความอยากและไม่อยากได้ทั้งสองส่วน เหนืออุปทาน คือ เหนือกว่าความยึดมั่นถือมั่น ยึดก็ได้ ไม่ยึดก็ได้ แต่ไม่ตกอยู่ใต้ภาวะยึดและไม่ยึด เรียกว่าเหนืออุปทาน คือ พ้นแล้วจากทั้งภาวะยึดและไม่ยึด ย่อมใช้หรือไม่ใช้ความยึดและไม่ยึดเป็นบริวารได้
เหนือตัณหา เหนืออุปทาน ย่อมพ้นแล้ว คือ อยากก็ได้ ไม่อยากก็ได้ มันไม่เหนือเรา คือ จะยึดก็...ได้ ไม่ยึดก็ได้ มันไม่ใช่นายเหนือเรา เราใช้มันเป็นเหมือนเครื่องมือหนึ่ง เราไม่ใช่ทาสมัน คนที่ไม่หลุดพ้นจากตัณหา ย่อมเป็นทาสแห่งตัณหา ตัณหาคือความทะยานอยาก ย่อมกำหนดบงการเขาไปดุจนายผู้ขี่ม้า นั่งแล้วขับม้าให้โลดแล่นไปตามใจตนฉะนั้น เมื่อตัณหาครอบงำบุคคลได้ เขากลายเป็นม้าให้ตัณหานั้นขี่คนที่ไม่หลุดพ้นจากอุปทาน ย่อมเป็นทาสแห่งอุปทาน อุปทาน คือ ความยึดมั่นถือมั่นตัวตนของตนไว้ สิ่งนี้ย่อมครอบงำดุจนายผู้ขี่ลาโง่ฉะนั้น อุปทานเป็นคนขี่ลา ผู้ยึดเป็นลา ผู้ตกอยู่ใต้อำนาจแห่งตัณหา อุปทาน ย่อมเป็นทาสเขาเสียแล้วซึ่งอิสรภาพ ไม่อาจทำได้ดังใจอิสระ เขาย่อมถูกตัณหาและอุปทานขับเคลื่อนขี่ไป เพราะตกอยู่ใต้อำนาจตัณหาและอุปทานนั้น
เหนือตัณหา ย่อมใช้ความอยากและไม่อยากเป็นบริวารได้ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ไม่จำเป็นต้องพุ่งตรงสู่นิพพาน หันกลับมาขี่ตัณหา เป็นดั่งม้าศึกก็ได้ เรียกว่า “ผู้อยู่เหนือตัณหา” เหนืออุปทาน ย่อมใช้ความยึดมั่นของคนให้เป็นบริวารได้ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ไม่จำเป็นต้องตรงสู่นิพพาน หันกลับมาขี่อุปทาน เป็นดั่งลาโง่ก็ได้ เรียกว่า “ผู้อยู่เหนืออุปทาน” ผู้หลุดพ้นแล้วจากอำนาจแห่งตัณหาและอุปทานถึงพระนิพพานแล้วมีกำลังหวนกลับมาได้ คือ พุทธะหรือยูไลผู้อยู่เหนือมนุษย์ ชาวคริสต์เรียกเขาว่า “พระเจ้า”
................................วิมุตติ ธรรม...............................
" เหนืออารมณ์ พ้นรู้สึก " ปริศนาธรรม
ผู้ตกอยู่ใต้อำนาจแห่งอารมณ์ความรู้สึก ย่อมถูกอารมณ์ความรู้สึกพัดพาไปโดยง่าย
ไม่เป็นอิสระได้ ไม่เป็นตัวของตัวเองอย่างแท้จริง แม้จะคิดว่าเป็นตัวของตัวเองแล้ว ที่ปล่อยใจตามอารมณ์ ผู้อยู่เหนืออารมณ์ พ้นแล้วจากความรู้สึกหาใช่ว่าไม่มีอารมณ์หรือความรู้สึก แต่มีอยู่ในระดับที่ไม่อยู่เหนือตน ดังลมพัดพาแต่ไม่ใช่พายุ อารมณ์รัก, ชัง, โกรธ, เกลียด มันย่อมเป็นนายเมื่อเราน้อมยอมรับมันความเป็นทาสย่อมเกิดขึ้นแก่เราในทันที จึงควรอยู่เหนืออารมณ์และคว...ามรู้สึกผัสสะและเวทนาคือที่มาของอารมณ์และความรู้สึก ดุจลมที่พัดทำให้ใบไม้ไหวไปตามมันฉะนั้น เมื่อเราไหลตามกระแสอารมณ์ไปแล้ว อารมณ์ก็ควบคุมเราเป็นทาสมันผัสสะและเวทนาย่อมเกิดขึ้นเป็นธรรมดา ผู้อยู่เหนืออารมณ์และความรู้สึกแล้วย่อมไม่ตกเป็นทาสของสิ่งเหล่านี้ ย่อมมีผัสสะและเวทนาอันปกติ ผู้มีผัสสะและเวทนาอันไหลไป มิได้อยู่ในครรลองครองธรรม ตามปกติดุจใบไม้ที่หลุดตามแรงลมเพราะขาดรากยึด
บุคคลผู้มีปัญญาแจ้งชัดถึงที่สุดแห่งธรรม ย่อมมีปัญญาเป็นรากเหง้าพื้นฐานดุจหญ้าที่มีรากหยั่งลงในดินลึก ไม่หลุดลอยตามแรงลมพัด ผัสสะและเวทนามิใช่ปัญหา แต่เป็นเพียงธรรม ปัญหาอยู่ที่บุคคลไหลไปตามผัสสะและเวทนา เมื่อบุคคลไม่ไหลไปตามผัสสะและเวทนาแล้ว ย่อมเป็นผู้มีผัสสะและเวทนาอันปกติเป็นธรรมบุคคลผู้มีผัสสะและเวทนา อันปกติเป็นธรรม เป็นผู้ที่อยู่เหนืออารมณ์ พ้นความรู้สึกแล้วย่อมมีอารมณ์และความรู้สึกได้ตามปกติและมีผัสสะและเวทนาที่ไม่ก่อชาติภพ
..............................วิมุตติ ธรรม..................................
" เหนือนาม พ้นรูป " ปริศนาธรรม
บ้างนิยมฝึกแยกรูปแยกนาม ดูรูปดูนาม ฝึกไปไม่จบสิ้น วนอยู่แต่ในเรื่องรูปนาม
แต่ก็ยังไม่เกิดปัญญา นามคือฝั่งผู้รู้, รูปคือฝั่งที่ถูกรู้ เมื่อมีตัวผู้รู้ ก็มีตัวผู้ที่ถูกรู้ตามมา เมื่อหยินสร้างหยาง หยางก็สร้างหยินก่อเกิดอย่างนี้ ย่อมไม่ดับสนิท ไม่นิพพาน
...
เหนือนาม คือ เหนือฝั่งผู้รู้ เหนือจิต เหนือเจตสิก เหนือวิญญาณ จิตผู้รู้ เจตสิกผู้บดบัง วิญญาณผู้แต่งเสริมสามสิ่งนี้ ไม่อาจเหนือได้ พ้นแล้ว เหนือขึ้นไปแล้ว
เหนือรูป คือ เหนือฝั่งที่ถูกรู้ เหนือรูปธรรมใดๆ ที่ปรากฏผ่านอายตนะ รูป, รส, กลิ่น, เสียง, สัมผัสโผฏฐัพพะ, ธรรมารมณ์ สิ่งเหล่านี้ไม่อาจเหนือได้ พ้นแล้ว เหนือขึ้นไปแล้ว ดุจบัวพ้นน้ำ เหนือนาม ย่อมไม่หลงความรู้ภายในตน เหนือรูป ย่อมไม่หลงความรู้ ในธรรมรอบตน เหนือทั้งรูปและนาม ย่อมไม่หลงทั้งในและนอกโคจรอยู่ได้ทั้งในและนอก ไม่ติดทั้งในและนอกดังนี้
เหนือนาม ย่อมไม่ถูกนามธรรมหลอกหลอนครอบงำ พ้นแล้ว หลุดแล้วเสียจากพันธนาการในตัวเอง จึงไม่จำกัด ไม่คับแคบอยู่ในภายในตน นามธรรมใด จิตหรือผู้รู้ก็ไม่สำคัญ เหนือรูป ย่อมไม่ถูกรูปหลอกหลอน ครอบงำ กำหนดพ้นแล้ว หลุดแล้วจากพันธนาการ เป็นอิสระไม่จำกัด ไม่คับแคบในรูปธรรมใดๆ รูปธรรมใด ก็ล้วนอยู่ในกำมือ เหนือนาม เหนือรูป พ้นจากรูปนามไม่ต้องวนอยู่กับการดูรูปนามเพราะพ้นแล้ว อิสระแล้วไม่ต้องระวังกังวลอีก ผู้ไม่พ้นเสียจากรูปนาม ย่อมเพียรจมอยู่ เขาย่อมวนอยู่ แช่อยู่ ดองอยู่ในรูปนามนั้นไม่อาจทำนิพพานให้แจ้ง พรหมจรรย์ให้สิ้นได้ตกอยู่ในอำนาจของรูปนามนั้น ไม่อาจหลุดพ้นได้
...................................วิมุตติ ธรรม..................................
" เหนือสังขาร พ้นวิญญาณ " ปริศนาธรรม
เหนือสังขาร คือ สามารถใช้สังขารใดก็ได้ จิตวิญญาณในร่างกายเราจรไปได้
แล้วแทรกเข้าในสังขารผู้อื่น เพื่อใช้งานสังขารนั้นๆ
...
เหนือวิญญาณ คือ สามารถใช้จิตวิญญาณได้ จิตวิญญาณในร่างของเราจรออกไปได้ แล้วทำงานต่างๆ ได้โดยกายไม่ไป นี่จึงเรียกว่า “เหนือจิตวิญญาณ”
เหนือสังขาร เหนือวิญญาณ พิสดารแท้ กายสังขารผู้อื่นก็เหมือนสังขารของเรา
กายสังขารของเรา เหมือนไม่ใช่เรามีจิตวิญญาณผู้อื่นเข้ามาใช้ได้ด้วย เหนือสังขาร คือ แม้ไม่มีสังขารก็ทำกิจได้ ไม่มีสังขารใดๆ มาเป็นกรอบขีดขั้นอำนาจแห่งเรา
สังขารอื่นก็ดำเนินไปด้วยอำนาจแห่งธรรมเหนือสังขาร แม้สังขารของเราแตกตายไป ก็ไม่มีปัญหา เพราะเหนือแล้ว
จิตวิญญาณมีอำนาจและปัญญาต่างกัน เรามีจิตวิญญาณในกายจำกัด ทำงานอยู่
เหนือวิญญาณ คือ นำวิญญาณมาสู่ร่างได้ ทำให้ใช้งานจิตวิญญาณเหล่านั้นในร่างตนได้ เมื่อต้องการความสามารถในแบบพรหม ในกายสังขารไม
การแปล กรุณารอสักครู่..