ประเพณีปอยหลวงคำว่า “ปอย” เป็นภาษาพม่าแปลว่า “งานที่มีคนชุมกัน” ถ้ามีค การแปล - ประเพณีปอยหลวงคำว่า “ปอย” เป็นภาษาพม่าแปลว่า “งานที่มีคนชุมกัน” ถ้ามีค อังกฤษ วิธีการพูด

ประเพณีปอยหลวงคำว่า “ปอย” เป็นภาษาพ

ประเพณีปอยหลวง

คำว่า “ปอย” เป็นภาษาพม่าแปลว่า “งานที่มีคนชุมกัน” ถ้ามีคนชุมกันน้อยเราเรียกว่า “ปอยน้อย” ถ้ามีคนชุมกันมากเราเรียกว่า “ปอยหลวง” ในที่นี้คำว่า “ปอยหลวง” จึงได้แก่ “งานมหกรรม” นั่นเอง

ล้านนาไทยมีประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณว่า เมื่อสร้างสิ่งที่เป็นสาธารณะประโยชน์ขึ้นเสร็จแล้ว หรือสิ่งที่เป็นถาวรวัตถุถวายพระภิกษุสงฆ์เสร็จแล้วจะจัดให้มีการฉลองสิ่งนั้นอีกครั้งหนึ่ง เรียกว่า “ปอยหลวง” สิ่งที่เราจะต้องจัดปอยหลวง
1. อุโบสถ
2. วิหาร
3. ศาลา
4. กำแพง
5. กุฏิ (โบราณไม่ปอยหลวง)
6. หอธรรม (หอไตร)
7. ตอนหลังเพิ่มสิ่งที่เป็นสาธารณะประโยชน์เข้ามาด้วยเช่นโรงเรียน ถนนหนทาง โรงพยาบาล ฯลฯ

เมื่อทางวัดได้ก่อสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กล่าวแล้ว เสร็จเรียบร้อยบริบูรณ์ ก็จะประชุมศรัทธาผู้อุปัฏฐากของวัด (ซึ่งมีอยู่ประจำทุก ๆ วัด เรียกว่า ศรัทธาวัดนั้นวัดนี้เป็นต้น) เพื่อปรึกษาหารือเรื่องจะมีงานฉลอง การประชุมกันเช่นนี้ย่อมมีฝ่ายที่เห็นด้วย และฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยต้องลงมติกัน ฝ่ายไหนชนะมีจำนวนมากกว่า ก็ทำตามฝ่ายนั้น เรื่องที่จะลงมติกันมักอยู่ในเรื่องจะปอยหลวงหรือไม่ หรือจะทานสังฆ์ (ตานสังฆ์)

การทานสังฆ์
เมื่อพูดถึงเรื่องนี้ก็อยากจะอธิบายให้ทราบถึงเรื่อง “ทานสังฆ์” ให้เป็นที่เข้าใจกัน “สังฆ์” คืออะไร ? คนภาคอื่นอาจเข้าใจว่าเป็น “พระสงฆ์” ความจริง “สังฆ์” ในที่นี้หมายถึง “ไทยธรรมที่จะถวายทานแก่พระสงฆ์” การทานสังฆ์ก็คือการถวายทานไทยธรรมแก่สงฆ์นั่นเอง

ถ้ามติตรงกัน “จะทานสังฆ์” งานการที่จะจัดก็ลดความใหญ่โตมโหฬารลง คือ ไม่มีการละเล่น ไม่มีการแห่ครัวทานไม่จำเป็นต้องมีการแผ่นาบุญให้แก่ญาติพี่น้อง เพียงนิมนต์พระสงฆ์ภายในตำบลมารับไทยธรรม เจริญพระพุทธมนต์ให้เป็นมงคลแก่สิ่งปลูกสร้างตามธรรมเนียม แล้วทานสังฆ์แก่พระสงฆ์เป็นเสร็จพิธี

ส่วนศรัทธาของวัดนั้นก็ไม่จำเป็นจะต้องทำครัวทานใหญ่ ๆ เพียงแต่เตรียมทำสังฆ์สักลูกหนึ่งแบกไปวัดเท่านั้น แต่ว่าทุกหลังคาเรือนของวัดนั้น มักจะต้องเป็นศรัทธาสังฆ์ใส่ยอดตามเจตนาหลังคาละ 1 สังฆ์เป็นอย่างน้อย เงินรายได้จากการทานสังฆ์จะไม่ต้องนำไปใช้จ่ายเป็นค่าการละเล่นเหมือนงานปอยหลวง ทางวัดมักจะได้รับเงินเป็นกอบเป็นกำ ทางบ้านก็ไม่สิ้นเปลืองด้วย การเลี้ยงดูญาติพี่น้อง นับเป็นประเพณีปอยหลวงอย่างประหยัด ได้ผลดีเหมือนกัน

งานปอยหลวง
ส่วนงานปอยหลวงนั้น เป็นงานใหญ่เป็นงานมหกรรมทีเดียว มีประเพณีทำสืบต่อกันมาแต่โบราณ เข้าใจว่าจะยึดเอาแบบอย่างของนางวิสาขามหาอุบาสิกา ซึ่งสร้างวัดชื่อ “บุพพาราม” ถวายพุทธเจ้าในพุทธกาล ตามตำนานกล่าวว่าวัดนั้นวิจิตรงดงามเหลือหลายเมื่อสร้างแล้วนางจัดให้มีงานฉลองที่ครึกครื้น ส่วนนางวิสาขาเองเกิดปิติพาลูกหลานฟ้อนรอบวิหาร

เข้าใจว่าจะเป็นดังกล่าวจึงเป็นต้นเหตุให้เกิดงานปอยหลวงขึ้น หลังจากสร้างสิ่งถาวรถวายแก่พระสงฆ์ มีการฟ้อนรำเป็นการสมโภช แม้ว่าความมุ่งหมายจะแปรไปในทางสนุกสนานก็ตามที ก็ยังเชื่อว่า “เป็นประเพณีที่ดีงามอยู่”เมื่อตกลงกันว่าจะปอยหลวงแล้ว ทางวัดก็ต้องจัดแจงตระเตรียมหลายอย่าง เช่น

1. ทำความสะอาดวัดซ่อมแซมส่วนอื่นของวัดให้ดีขึ้น
2. ขออนุญาติจากเจ้าคณะ
3. พิมพ์ใบฎีกา นิมนต์หัววัดที่เคยทำบุญถึงกัน
4. ตั้งกรรมการดำเนินงานทุกแผนก เช่นแผนกต้อนรับ แผนกทำอาหาร แผนกการเงิน เป็นต้น

ส่วนทางบ้านศรัทธาของวัดนั้น เมื่อตกลงจะมีงานปอยหลวงแล้ว ก็ตระเตรียมทำบ้านช่องให้สะอาด บอกข่าวแก่ญาติพี่น้องลูกหลานที่อยู่ไกลให้ทราบ เพื่อมาร่วมทำบุญด้วยกัน งานปอยหลวงจึงเป็นการนัดชุมนุมญาติหลาย ๆ เพราะอยู่ที่ไหนเมื่อวัดเดิมของตัวมีงาน ย่อมจะมาร่วม ยกเว้นแต่ผู้ที่ลำบากจริง ๆ ที่ไม่อาจมาได้ เมื่อบอกข่าวแก่ญาติแล้วก็เตรียมครัวทาน ที่ชื่อว่า “ครัวทาน” นั้น คือ “สิ่งของที่จะนำไปถวายทาน คำว่า “ครัว” ล้านนาไทย หมายถึง สิ่งของเครื่องใช้ทั้งสิ้น“ห้องครัว”คือห้องที่ใช้เก็บสิ่งของนั้นเอง

“ครัวทาน” ของแต่ละบ้านแห่งศรัทธาวัดนั้น เขาจะสร้างขึ้นตามเจตนาของตนอาจทำเป็นปราสาท เป็นเรือน เป็นรูปนก ช้าง ม้า หงส์หรือทำเป็นยอดฉัตร มีค้างมีฐานตั้งประดับประดาให้วิจิตรพิสดาร นิยมทำกันเป็นครัวทานหลังโต ๆตั้งไว้กลางห้องโถงไม่นิยมเอาวัตถุไว้ใต้ถุนบ้าน เพราะถือว่าเป็นของทานของสูง ใช้เวลากว่าครึ่งเดือนในการทำครัวทานนี้สิ่งใดที่สวยงามตามความเข้าใจของเขา เขาจะนำมาประดับครัวทาน บางบ้านก็ซื้อ ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ ธรรมาสน์ ถังน้ำ ฯลฯ มาประดับเป็นครัวทาน เรียกกันว่าเป็นอิสระในการทำครัวทานจริง ๆ ที่บนปลายยอดของครัวทานจะทำไม้คีบธนบัตรปักไว้ ไม่จำกัดจำนวนอีกว่าเท่าไร แล้วแต่เจตนาอีกเช่นกัน

การทำครัวทานให้ใหญ่ มีคนสมัยใหม่บางท่านไม่เข้าใจ คือเขาเข้าใจว่า “การทำปอยหลวงก็คือทางวัดต้องการเงิน เอาเงินที่ใช้ซื้อไม้ กระดาษเอามาทำเป็นครัวทานแล้วก็ทิ้งใช้ประโยชน์ไม่ได้ สู้เอาเงินมาถวายพระดีกว่า” ถ้ามองอย่างนักเศรษฐกิจมองวัตถุก็จะเป็นเช่นคนสมัยใหม่เข้าใจ แต่ไม่ถูกตามความหมายทางพระพุทธศาสนา การทำบุญเราต้องการบุญไม่ใช่ต้องการเงิน บุญคือความสุข ความอิ่มใจ ความเบิกบานแห่งใจ

การที่คนโบราณนิยมให้ทำครัวทานหลังโต ๆ นั้น โดยเฉพาะให้ตั้งไว้กลางห้องโถงบนเรือนทางล้านนาไทยมีคติถือว่า “คนไทยเมื่อใกล้จะสิ้นใจ” ถ้าใจดีก็จะไปสู่สุคติ ถ้าใจชั่วก็ไปสู่ทุคติทางร้าย เขาจะเตือนสติผู้ใกล้จะสิ้นใจว่า “ให้นึกถึงของกินของทานไว้เน้อ” แล้วจะกล่าวสอนคำว่า “พุทโธ” เป็นการเตือนสติคนใกล้จะตาย” คนใกล้จะตายนั้นจิตสำนึกของเขาย่อมจะสับสน ความดีความชั่วประดังประเดเข้ามาในตอนนั้นครัวทานหลังโตๆที่เคยสร้างและเคยประดิษฐานอยู่กลางห้องโถงย่อมเป็นนิมิตที่ใจจะเกาะยึดถือได้ง่าย เพราะเป็นของใหญ่จำติดหูติดตาได้ง่าย ข้อนี้เป็นเหตุผลประการหนึ่งของการทำครัวทาน

เหตุผลข้อที่ 2 การทำครัวทานหลังโต ๆ แบบล้านนาไทย ท่านว่าได้บุญมาก มากกว่าเอาเงินใส่ซองไปถวายพระเป็นจำนวนมากเสียอีก เพราะครัวทานที่ทำใหญ่โตสวยงามเช่นนั้นเมื่อแห่ไปตามถนนท่ามกลางสายตาแห่งคนจำนวนมาก ผู้ใดได้เห็นก็ชมว่าสวยงาม พลอยชื่นชมยินดีร่วมด้วยผู้นั้นย่อมได้บุญร่วมกับเจ้าภาพสำเร็จด้วยอนุโมทนา นี้เป็นเหตุผลข้อที่ 2

การที่ผู้ใดเป็นเจ้าภาพสร้างทำประดิษฐ์ครัวทาน จะใช้เวลา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
POY Luang tradition.The word "POI" is a Burmese language translates to "meeting people" tasks. If there are people meeting each other at least we called "Tuff" If we are meeting people most commonly called a "POI Luang". In this case, the word "capital", thus: "Tuff exhibition" celebrities. Thailand has a tradition of Lanna who practice traditional succession when creating something useful done up as public or as an institution offering for monks is finished will celebrate it again. Called a "POI Luang". What we will need to POI Luang.1. Hall. 2. the Cathedral 3. the Sala 4. the wall 5. guti (traditional POI Luang) 6. fair Hall (Hall of the quarter). 7. ตอนหลังเพิ่มสิ่งที่เป็นสาธารณะประโยชน์เข้ามาด้วยเช่นโรงเรียน ถนนหนทาง โรงพยาบาล ฯลฯ เมื่อทางวัดได้ก่อสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กล่าวแล้ว เสร็จเรียบร้อยบริบูรณ์ ก็จะประชุมศรัทธาผู้อุปัฏฐากของวัด (ซึ่งมีอยู่ประจำทุก ๆ วัด เรียกว่า ศรัทธาวัดนั้นวัดนี้เป็นต้น) เพื่อปรึกษาหารือเรื่องจะมีงานฉลอง การประชุมกันเช่นนี้ย่อมมีฝ่ายที่เห็นด้วย และฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยต้องลงมติกัน ฝ่ายไหนชนะมีจำนวนมากกว่า ก็ทำตามฝ่ายนั้น เรื่องที่จะลงมติกันมักอยู่ในเรื่องจะปอยหลวงหรือไม่ หรือจะทานสังฆ์ (ตานสังฆ์) การทานสังฆ์ เมื่อพูดถึงเรื่องนี้ก็อยากจะอธิบายให้ทราบถึงเรื่อง “ทานสังฆ์” ให้เป็นที่เข้าใจกัน “สังฆ์” คืออะไร ? คนภาคอื่นอาจเข้าใจว่าเป็น “พระสงฆ์” ความจริง “สังฆ์” ในที่นี้หมายถึง “ไทยธรรมที่จะถวายทานแก่พระสงฆ์” การทานสังฆ์ก็คือการถวายทานไทยธรรมแก่สงฆ์นั่นเอง ถ้ามติตรงกัน “จะทานสังฆ์” งานการที่จะจัดก็ลดความใหญ่โตมโหฬารลง คือ ไม่มีการละเล่น ไม่มีการแห่ครัวทานไม่จำเป็นต้องมีการแผ่นาบุญให้แก่ญาติพี่น้อง เพียงนิมนต์พระสงฆ์ภายในตำบลมารับไทยธรรม เจริญพระพุทธมนต์ให้เป็นมงคลแก่สิ่งปลูกสร้างตามธรรมเนียม แล้วทานสังฆ์แก่พระสงฆ์เป็นเสร็จพิธี ส่วนศรัทธาของวัดนั้นก็ไม่จำเป็นจะต้องทำครัวทานใหญ่ ๆ เพียงแต่เตรียมทำสังฆ์สักลูกหนึ่งแบกไปวัดเท่านั้น แต่ว่าทุกหลังคาเรือนของวัดนั้น มักจะต้องเป็นศรัทธาสังฆ์ใส่ยอดตามเจตนาหลังคาละ 1 สังฆ์เป็นอย่างน้อย เงินรายได้จากการทานสังฆ์จะไม่ต้องนำไปใช้จ่ายเป็นค่าการละเล่นเหมือนงานปอยหลวง ทางวัดมักจะได้รับเงินเป็นกอบเป็นกำ ทางบ้านก็ไม่สิ้นเปลืองด้วย การเลี้ยงดูญาติพี่น้อง นับเป็นประเพณีปอยหลวงอย่างประหยัด ได้ผลดีเหมือนกัน งานปอยหลวง ส่วนงานปอยหลวงนั้น เป็นงานใหญ่เป็นงานมหกรรมทีเดียว มีประเพณีทำสืบต่อกันมาแต่โบราณ เข้าใจว่าจะยึดเอาแบบอย่างของนางวิสาขามหาอุบาสิกา ซึ่งสร้างวัดชื่อ “บุพพาราม” ถวายพุทธเจ้าในพุทธกาล ตามตำนานกล่าวว่าวัดนั้นวิจิตรงดงามเหลือหลายเมื่อสร้างแล้วนางจัดให้มีงานฉลองที่ครึกครื้น ส่วนนางวิสาขาเองเกิดปิติพาลูกหลานฟ้อนรอบวิหาร เข้าใจว่าจะเป็นดังกล่าวจึงเป็นต้นเหตุให้เกิดงานปอยหลวงขึ้น หลังจากสร้างสิ่งถาวรถวายแก่พระสงฆ์ มีการฟ้อนรำเป็นการสมโภช แม้ว่าความมุ่งหมายจะแปรไปในทางสนุกสนานก็ตามที ก็ยังเชื่อว่า “เป็นประเพณีที่ดีงามอยู่”เมื่อตกลงกันว่าจะปอยหลวงแล้ว ทางวัดก็ต้องจัดแจงตระเตรียมหลายอย่าง เช่น
1. ทำความสะอาดวัดซ่อมแซมส่วนอื่นของวัดให้ดีขึ้น
2. ขออนุญาติจากเจ้าคณะ
3. พิมพ์ใบฎีกา นิมนต์หัววัดที่เคยทำบุญถึงกัน
4. ตั้งกรรมการดำเนินงานทุกแผนก เช่นแผนกต้อนรับ แผนกทำอาหาร แผนกการเงิน เป็นต้น

ส่วนทางบ้านศรัทธาของวัดนั้น เมื่อตกลงจะมีงานปอยหลวงแล้ว ก็ตระเตรียมทำบ้านช่องให้สะอาด บอกข่าวแก่ญาติพี่น้องลูกหลานที่อยู่ไกลให้ทราบ เพื่อมาร่วมทำบุญด้วยกัน งานปอยหลวงจึงเป็นการนัดชุมนุมญาติหลาย ๆ เพราะอยู่ที่ไหนเมื่อวัดเดิมของตัวมีงาน ย่อมจะมาร่วม ยกเว้นแต่ผู้ที่ลำบากจริง ๆ ที่ไม่อาจมาได้ เมื่อบอกข่าวแก่ญาติแล้วก็เตรียมครัวทาน ที่ชื่อว่า “ครัวทาน” นั้น คือ “สิ่งของที่จะนำไปถวายทาน คำว่า “ครัว” ล้านนาไทย หมายถึง สิ่งของเครื่องใช้ทั้งสิ้น“ห้องครัว”คือห้องที่ใช้เก็บสิ่งของนั้นเอง

“ครัวทาน” ของแต่ละบ้านแห่งศรัทธาวัดนั้น เขาจะสร้างขึ้นตามเจตนาของตนอาจทำเป็นปราสาท เป็นเรือน เป็นรูปนก ช้าง ม้า หงส์หรือทำเป็นยอดฉัตร มีค้างมีฐานตั้งประดับประดาให้วิจิตรพิสดาร นิยมทำกันเป็นครัวทานหลังโต ๆตั้งไว้กลางห้องโถงไม่นิยมเอาวัตถุไว้ใต้ถุนบ้าน เพราะถือว่าเป็นของทานของสูง ใช้เวลากว่าครึ่งเดือนในการทำครัวทานนี้สิ่งใดที่สวยงามตามความเข้าใจของเขา เขาจะนำมาประดับครัวทาน บางบ้านก็ซื้อ ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ ธรรมาสน์ ถังน้ำ ฯลฯ มาประดับเป็นครัวทาน เรียกกันว่าเป็นอิสระในการทำครัวทานจริง ๆ ที่บนปลายยอดของครัวทานจะทำไม้คีบธนบัตรปักไว้ ไม่จำกัดจำนวนอีกว่าเท่าไร แล้วแต่เจตนาอีกเช่นกัน

การทำครัวทานให้ใหญ่ มีคนสมัยใหม่บางท่านไม่เข้าใจ คือเขาเข้าใจว่า “การทำปอยหลวงก็คือทางวัดต้องการเงิน เอาเงินที่ใช้ซื้อไม้ กระดาษเอามาทำเป็นครัวทานแล้วก็ทิ้งใช้ประโยชน์ไม่ได้ สู้เอาเงินมาถวายพระดีกว่า” ถ้ามองอย่างนักเศรษฐกิจมองวัตถุก็จะเป็นเช่นคนสมัยใหม่เข้าใจ แต่ไม่ถูกตามความหมายทางพระพุทธศาสนา การทำบุญเราต้องการบุญไม่ใช่ต้องการเงิน บุญคือความสุข ความอิ่มใจ ความเบิกบานแห่งใจ

การที่คนโบราณนิยมให้ทำครัวทานหลังโต ๆ นั้น โดยเฉพาะให้ตั้งไว้กลางห้องโถงบนเรือนทางล้านนาไทยมีคติถือว่า “คนไทยเมื่อใกล้จะสิ้นใจ” ถ้าใจดีก็จะไปสู่สุคติ ถ้าใจชั่วก็ไปสู่ทุคติทางร้าย เขาจะเตือนสติผู้ใกล้จะสิ้นใจว่า “ให้นึกถึงของกินของทานไว้เน้อ” แล้วจะกล่าวสอนคำว่า “พุทโธ” เป็นการเตือนสติคนใกล้จะตาย” คนใกล้จะตายนั้นจิตสำนึกของเขาย่อมจะสับสน ความดีความชั่วประดังประเดเข้ามาในตอนนั้นครัวทานหลังโตๆที่เคยสร้างและเคยประดิษฐานอยู่กลางห้องโถงย่อมเป็นนิมิตที่ใจจะเกาะยึดถือได้ง่าย เพราะเป็นของใหญ่จำติดหูติดตาได้ง่าย ข้อนี้เป็นเหตุผลประการหนึ่งของการทำครัวทาน

เหตุผลข้อที่ 2 การทำครัวทานหลังโต ๆ แบบล้านนาไทย ท่านว่าได้บุญมาก มากกว่าเอาเงินใส่ซองไปถวายพระเป็นจำนวนมากเสียอีก เพราะครัวทานที่ทำใหญ่โตสวยงามเช่นนั้นเมื่อแห่ไปตามถนนท่ามกลางสายตาแห่งคนจำนวนมาก ผู้ใดได้เห็นก็ชมว่าสวยงาม พลอยชื่นชมยินดีร่วมด้วยผู้นั้นย่อมได้บุญร่วมกับเจ้าภาพสำเร็จด้วยอนุโมทนา นี้เป็นเหตุผลข้อที่ 2

การที่ผู้ใดเป็นเจ้าภาพสร้างทำประดิษฐ์ครัวทาน จะใช้เวลา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีปอยหลวงคำว่า " ปอย " เป็นภาษาพม่าแปลว่า " งานที่มีคนชุมกัน " ถ้ามีคนชุมกันน้อยเราเรียกว่า " ปอยน้อย " ถ้ามีคนชุมกันมากเราเรียกว่า " ปอยหลวง " ในที่นี้คำว่า " ปอยหลวง " จึงได้แก่ " งานมหกรรม " นั่นเองล้านนาไทยมีประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณว่าเมื่อสร้างสิ่งที่เป็นสาธารณะประโยชน์ขึ้นเสร็จแล้วหรือสิ่งที่เป็นถาวรวัตถุถวายพระภิกษุสงฆ์เสร็จแล้วจะจัดให้มีการฉลองสิ่งนั้นอีกครั้งหนึ่งเรียกว่า " ปอยหลวง " สิ่งที่เราจะต้องจัดปอยหลวง1 . อุโบสถ2 . วิหาร3 . ศาลา4 . กำแพง5 . กุฏิ ( โบราณไม่ปอยหลวง )6 . หอธรรม ( หอไตร )7 . ตอนหลังเพิ่มสิ่งที่เป็นสาธารณะประโยชน์เข้ามาด้วยเช่นโรงเรียนถนนหนทางโรงพยาบาลฯลฯเมื่อทางวัดได้ก่อสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กล่าวแล้วเสร็จเรียบร้อยบริบูรณ์ก็จะประชุมศรัทธาผู้อุปัฏฐากของวัด ( ซึ่งมีอยู่ประจำทุกจะวัดเรียกว่าศรัทธาวัดนั้นวัดนี้เป็นต้น ) เพื่อปรึกษาหารือเรื่องจะมีงานฉลองการประชุมกันเช่นนี้ย่อมมีฝ่ายที่เห็นด้วยและฝ่ายที่ไม ่เห็นด้วยต้องลงมติกันฝ่ายไหนชนะมีจำนวนมากกว่าก็ทำตามฝ่ายนั้นเรื่องที่จะลงมติกันมักอยู่ในเรื่องจะปอยหลวงหรือไม่หรือจะทานสังฆ์ ( ตานสังฆ์ )การทานสังฆ์เมื่อพูดถึงเรื่องนี้ก็อยากจะอธิบายให้ทราบถึงเรื่อง " ทานสังฆ์ " ให้เป็นที่เข้าใจกัน " สังฆ์ " คืออะไร ? คนภาคอื่นอาจเข้าใจว่าเป็น " พระสงฆ์ " ความจริง " สังฆ์ " ในที่นี้หมายถึง " ไทยธรรมที่จะถวายทานแก่พระสงฆ์ " การทานสังฆ์ก็คือการถวายทานไทยธรรมแก่สงฆ์นั่นเองถ้ามติตรงกัน " จะทานสังฆ์ " งานการที่จะจัดก็ลดความใหญ่โตมโหฬารลงความไม่มีการละเล่นไม่มีการแห่ครัวทานไม่จำเป็นต้องมีการแผ่นาบุญให้แก่ญาติพี่น้องเพียงนิมนต์พระสงฆ์ภายในตำบลมารับไทยธรรมเจริญพระพุทธมนต์ให้เป็นมงคลแก่สิ่งปลูกสร้างตามธรรมเนียมแล้วทานสังฆ์แก่ พระสงฆ์เป็นเสร็จพิธีส่วนศรัทธาของวัดนั้นก็ไม่จำเป็นจะต้องทำครัวทานใหญ่จะเพียงแต่เตรียมทำสังฆ์สักลูกหนึ่งแบกไปวัดเท่านั้นแต่ว่าทุกหลังคาเรือนของวัดนั้นมักจะต้องเป็นศรัทธาสังฆ์ใส่ยอดตามเจตนาหลังคาละ 1 สังฆ์เป็นอย่างน้อย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: