สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ รัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและกรุ การแปล - สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ รัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและกรุ จีน วิธีการพูด

สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ ร

สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์

รัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ในปี พ.ศ. 2310-2325 เริ่มต้นหลังจากที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ขับไล่ทหารพม่าออกจากแผ่นดินไทย ทำการรวมชาติ และได้ย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่กรุงธนบุรี โดยจัดตั้งการเมืองการปกครอง มีลักษณะการเมืองการปกครองยังคงดำรงไว้ซึ่งการเมืองการปกครองภายในสมัยอยุธยาอยู่ก่อน โดยมีพระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาดในการเมืองการปกครอง อย่างไรก็ตาม ภายหลังสิ้นรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้สถาปนาตนขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี และทรงย้ายเมืองหลวงมายังกรุงเทพมหานคร เริ่มยุคสมัยแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1790 กองทัพพม่าถูกขับไล่ออกจากดินแดนรัตนโกสินทร์อย่างถาวร และทำให้แคว้นล้านนาปลอดจากอิทธิพลของพม่าเช่นกัน โดยล้านนาถูกปกครองโดยราชวงศ์ที่นิยมราชวงศ์จักรีนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา จนกระทั่งถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสยามอย่างเป็นทางการ

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ไทยยังเผชิญกับการรุกรานจากประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สงครามเก้าทัพ, สงครามท่าดินแดงกับพม่า ตลอดจนกบฏเจ้าอนุวงศ์กับลาว และอานามสยามยุทธกับญวน

ในช่วงนี้ กรุงรัตนโกสินทร์ยังไม่ค่อยมีการติดต่อค้าขายกับชาติตะวันตกมากนัก ต่อมาเมื่อชาวตะวันตกเริ่มเข้ามาค้าขายอีก ได้ตระหนักว่าพวกพ่อค้าจีนได้รับสิทธิพิเศษเหนือคนไทยและพวกตน จึงได้เริ่มเรียกร้องสิทธิพิเศษต่าง ๆ มาโดยตลอด มีการเดินทางเยือนของทูตหลายคน อาทิ จอห์น ครอเฟิร์ต ตัวแทนจากบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ซึ่งเข้ามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย แต่ยังไม่บรรลุข้อตกลงใด ๆ สนธิสัญญาที่มีการลงนามในช่วงนี้ เช่น สนธิสัญญาเบอร์นี และสนธิสัญญาโรเบิร์ต แต่ก็เป็นเพียงข้อตกลงที่ไม่มีผลกระทบมากนัก และชาวตะวันตกไม่ค่อยได้รับสิทธิพิเศษเพิ่มมากขึ้นแต่อย่างใด

อย่างไรก็ตาม ได้มีคณะทูตตะวันตกเข้ามาเสนอสนธิสัญญาข้อตกลงทางการค้าอยู่เรื่อย ๆ เพื่อขอสิทธิทางการค้าให้เท่ากับพ่อค้าจีน และอังกฤษต้องการเข้ามาค้าฝิ่นอันได้กำไรมหาศาล แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ทั้งคณะของเจมส์ บรุคจากอังกฤษ และโจเซฟ บัลเลสเตียร์จากสหรัฐอเมริกา ทำให้ชาวตะวันตกขุ่นเคืองต่อราชสำนัก

การเผชิญหน้ากับมหาอำนาจตะวันตก

ภายหลังจากที่พม่าตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี พ.ศ. 2369 พระมหากษัตริย์ไทยในรัชสมัยถัดมาจึงทรงตระหนักถึงภัยคุกคามที่มาจากชาติมหาอำนาจในทวีปยุโรป และพยายามดำเนินนโยบายทอดไมตรีกับชาติเหล่านั้น อย่างไรก็ตาม สยามมีการเปลี่ยนแปลงดินแดนหลายครั้ง รวมทั้งตกอยู่ในสถานะรัฐกันชนระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส ถึงกระนั้น สยามก็ไม่ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก

การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ได้มีกลุ่มบุคคลที่เรียกว่า คณะราษฎร ได้ปฏิวัติเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครอง จากสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองแก่ประเทศไทยอย่างมาก และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานต้องสูญเสียอำนาจส่วนใหญ่ไปในที่สุด โดยมีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 ขึ้นเป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอย่างถาวรเป็นฉบับแรก
ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าว การต่อสู้ทางการเมืองยังคงมีการต่อสู้กันระหว่างผู้นำในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช กับระบอบใหม่ รวมทั้งความขัดแย้งในผู้นำระบอบใหม่ด้วยกันเอง โดยการต่อสู้ทางการเมืองและทางความคิดอุดมการณ์นี้ได้ดำเนินต่อเนื่องยาวนานเป็นเวลากว่า 25 ปีภายหลังจากการปฏิวัติ และนำไปสู่ยุคตกต่ำของคณะราษฎรในกาลต่อมา ทำให้การเปลี่ยนแปลงการปกครองดังกล่าวถูกมองว่าเป็นพฤติการณ์ "ชิงสุกก่อนห่าม" เนื่องจากชาวไทยยังไม่พร้อมสำหรับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อีกทั้งการปกครองในระยะแรกหลังการปฏิวัติยังคงอยู่ในระบอบเผด็จการทหาร

สงครามโลกครั้งที่สอง


ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการเดินขบวนเรียกร้องให้รัฐบาลเอาดินแดนคืนของนิสิตนักศึกษา จอมพลแปลก พิบูลสงคราม จึงส่งทหารข้ามแม่น้ำโขงและรุกรานอินโดจีนฝรั่งเศส จนได้ดินแดนคืนมา 4 จังหวัด ภายหลังการเข้าไกล่เกลี่ยของญี่ปุ่น โดยมีการรบที่เป็นที่รู้จักกันมาก ได้แก่ การรบที่เกาะช้าง
ต่อมา หลังจากการโจมตีกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่เพิร์ลฮาร์เบอร์ กองทัพญี่ปุ่นก็ได้รุกรานประเทศไทย โดยต้องการเคลื่อนทัพผ่านดินแดน รัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงครามได้ดำเนินนโยบายเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น รวมทั้งลงนามในสนธิสัญญาพันธมิตรทางการทหารกับญี่ปุ่น และประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร ซึ่งนโยบายดังกล่าวของรัฐบาลถูกต่อต้านจากทั้งในและนอกประเทศ เนื่องจากไทยประสบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
หลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2488 แม้ว่าประเทศไทยจะตกอยู่ในสถานะประเทศผู้แพ้สงคราม แต่เนื่องจากการเคลื่อนไหวของขบวนการเสรีไทย ทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรยอมรับ และไม่ถูกยึดครอง เพียงแต่ต้องคืนดินแดนระหว่างสงครามให้กับอังกฤษและฝรั่งเศส และจ่ายค่าเสียหายทดแทนเท่านั้น



สงครามเย็น

รัฐบาลไทยได้ดำเนินนโยบายเป็นพันธมิตรของสหรัฐอเมริกาในระหว่างสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากนโยบายต่อต้านการขยายตัวของคอมมิวนิสต์ในคาบสมุทรอินโดจีน และยังส่งทหารไปร่วมรบกับฝ่ายพันธมิตร ได้แก่ สงครามเกาหลี และสงครามเวียดนาม
ประเทศไทยประสบกับปัญหากองโจรคอมมิวนิสต์ในประเทศระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 อย่างไรก็ตาม ปัญหาดังกล่าวก็ไม่ค่อยจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศสักเท่าไหร่ และกองโจรก็หมดไปในที่สุด

การพัฒนาประชาธิปไตย


หลังจากปัจจัยแวดล้อมด้านต่าง ๆ ได้รับการพัฒนาขึ้น ประชาชนมีความพร้อมต่อการใช้อำนาจอธิปไตยเพิ่มมากขึ้น การเรียกร้องอำนาจอธิปไตยคืนจากฝ่ายทหารก็เกิดขึ้นเป็นระยะ กระทั่งในที่สุด ภายหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ฝ่ายทหารก็ไม่สามารถถือครองอำนาจอธิปไตยได้อย่างถาวรอีกต่อไป อำนาจอธิปไตยจึงได้เปลี่ยนไปอยู่ในมือของกลุ่มนักการเมือง ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มบุคคลสามกลุ่มหลัก คือ กลุ่มทหารที่เปลี่ยนบทบาทมาเป็นนักการเมือง กลุ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (จีน) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
吞武里和 Rattanakosin 王泰京吞武里王朝和 Rattanakosin 开始在开始-2325 2310年 (1767) 后王泰京吞武里被赶出缅甸泰国土地。加入的国家和所建立的政治首都迁往吞武里。大城府时期类似政治犹抱那内部政治。与国王是政治的决定性因素。后来,然而,结束了统治国王曼谷吞武里。天空王佛确立了自己作为一个男性风筝世界泰王。他把都城迁到曼谷。Rattanakosin 时代开始在过去几十年里,缅甸军队,1790 年,被开除的旧领土,随便从缅甸北部地区的影响。由兰纳统治由 niyomratwong 王朝自今天起直到它被追加为暹罗王国的一部分。早期的 Rattanakosin 时代泰国也面临着入侵来自周边国家,包括九个军队战争,战争的叛乱,以及港口交通与缅甸官员到老挝和暹罗名称 anuwong 战斗与食物。在这个范围内。Rattanakosin 没有与西方国家进行贸易。后来,当西方人来另一个交易开始请注意,中国的商人,他们接收特权在泰国和他们的人民。所以开始调用特权。有很多人参观的外交官如约翰交叉,法兰克福。从英国东印度公司,抵达他国王陛下 Rama 院子纳帕拉统治的任何协议,但不能实现虽然罗伯特 · 文丘里但它只是一项协议,不会有多大的影响,和不会收到一个西方人和更多的特权已在此时期,条约 》 和条约 》,签署条约的代表。然而,西方外交官有的贸易协定越来越为贸易权限拟议的条约等于中文和英文的客商来达戈霍伊来贸易利润。但他并不是所有的成功,James 和约瑟夫调查奇珍。美国,从巴尔的摩湖 satia导致过敏西方人多云法院与西方列强对抗缅甸作为殖民地的英语在泰国在 2369年国王倒台后统治,而他是知道的威胁来自于欧洲,并试图把重点放在与国家政策炒他们国家的超级大国。然而,暹罗改变了多次,并在英国和法国之间的状态缓冲区状态的土地。即便如此,暹罗不属于作为英国在西方国家。一个革命性的变化。1937 年 6 月 24 日,当一群有 2475年被称为人的人已经改变了革命的格式。天国是从 sombunnaya 权利根据宪法 》 的一个君主国活动方式政治国家泰国造成的变化,使曾经失去的权力所需的最长时间作为统治着这个国家的君主。第一个永久宪法学士 2475年泰王国宪法草案。后此类更改的事件。政治斗争仍然是在联合王国与 sombunnaya 的权利,包括在新的政权领导人的冲突新政权领导人之间正在展开。由政治斗争和思想观念这是经过长时间连续工作超过 25 年的革命后并导致人们的年龄在下个赛季的下降。对上述裁决的更改被视为处理"的东西在它的时间之前"因为泰国人民不是为民主做好准备。此外,在政变后的第一阶段处于军事独裁统治。第二次世界大战在第二次世界大战期间有示威,要求政府归还土地的学生。元帅汶功府惊喜送兵过河,入侵印度支那的土地,法国已返回四个省后的日本调解入了战争,这已知的许多人,包括象岛的战斗。后来,之后日本偷袭珍珠港美国海军。军队侵略国家泰国日本。通过将移动到军队通过领土。政府的元帅惊喜Pibulsongkram.政策是一个合作伙伴与日本,以及军事宣战的战争,反对美国和英国,是政府的政策,与日本的同盟条约 》 说: 在和国外的反对是对泰国经济衰退的迹象。后第二次世界大战结束在这个国家,虽然泰国是 2488年落在该国输掉了战争。但是,由于泰国的自由流动让盟友并不只是要向英国和法国战争期间占领的领土和损坏只更换。冷战的结束泰国政府已采取的政策,作为盟友,美国在冷战时期,可以看到从反对共产主义在印度支那半岛的扩张政策和也派出士兵抗击与联盟: 战争、 战争和朝鲜越南。泰国,迫使国家,共产主义土匪在 1960 年和 1970 年,几十年来我国然而,这一事件不会影响国家的稳定和多土匪走了。民主的发展。经过各项环境因素已被发展。人们准备使用主权。从军事主权声明只是碰巧处于最后阶段,甚至在 1937 年 10 月 14 日,事件后 2516年军事主权不能永久在将来举行。主权已在手中一群政治家,其中包括三个主要小组的个人是军事角色之际,告士打道的政客。
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (จีน) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
泰京银行的Rattanakosin时代Taksin国王和早期哥欣王朝在公元2310年至二三二五年开始后,Taksin国王赶出缅甸,泰国总国土搬到首都。吞武里 政治团体 政治仍保持政治主导权在大城府前。国王在政治绝对权力,但是,Taksin国王的统治结束后。国王拉玛天际线已经确立了自己的Chakri朝代的王。他迁都曼谷 开始的Rattanakosin时代的十年1790年缅甸军队在从该土地永久期限开除。兰纳地区,因而从缅甸以及影响力自由。通过阑自那时以来的统治流行Chakri朝代。直到它被吞并暹罗国作为正式的一部分,早期的Rattanakosin期间。泰国也面临着侵略邻国,其中包括第九局比赛,与缅甸临屋丁登战争。反叛耶和华亚科与老挝。阿布泰国和越南的战斗,在此期间。哥欣没有真正与西方多业。后来,当西又开始交易。中国贸易商已经意识到,他们已经荣幸了泰国和他们。它在过去的几个人,其中包括约翰十字架,埃尔富特,英国东印度公司的代表大使参观独特的要求。其中排在国王拉玛二世统治时期。但并没有达到这个伯尼条约期间签署的条约达成任何协议。和罗伯特条约 它是不具有太大的影响的唯一协议。与西方人很少有独家无论如何增加,但是。西方外交官提出了条约生效的贸易协定正在稳步的商业权利的中国商人。英国的鸦片贸易,并希望有一个巨大的利润。但是,如果没有成功,詹姆斯董事会 托布鲁克从英国和约瑟夫·芭蕾古铁雷斯来自美国。对法院西方不满的人与西方列强的对抗缅甸于2369年在英国的殖民地后,泰国国王统治时期后,他意识到威胁来自欧洲强国。而和解与这些地区的政策,然而,暹罗改了几次。在英国和法国之间的状态缓冲区状态的下降,但它不是西方暹罗的殖民地政府的革命性的变化2475年6月24日上,一组名为人民革命的变化。规则 从专制到君主立宪制。这一事件创造了一个政治制度大大泰国。并做出了很长一段时间失去了大部分最终裁定该国大部分地区的君主。2475宪法是泰国王国宪法永远是第一个这样的更改后的事件。在政治斗争仍在领导人之间的战斗在民主的专制与新政权,其中包括反对派领导人在新政权本身。的思想和理想的政治斗争已经持续了革命后超过25年。并导致人们在今后一个时期的垮台。该规则的改变一直被认为是不合理的。“过早”,因为泰国人都没有准备好民主。在第一个后革命军事独裁统治留在第二次世界大战期间第二次世界大战。游行要求政府收回好奇的学生春景响度Phiboonsongkram境内派兵越过湄公河入侵法属印度支那。日本的调解后的领土归还四省。这场战役也被称为岛的战役后。攻击,美国海军在珍珠港之后。日本军队侵略了泰国 有必要通过境内移动的部队。政府奇怪的春景响度 Phiboonsongkram采取了与日本结盟。包括军事同盟条约与日本签署。并宣布对美国和英国的战争。这项政策是反对由政府和国家。由于泰国正在经历经济衰退二战2488年结束后,虽然国家将陷入战斗状态。然而,由于RUR的运动。盟军取得了 而没有被占用 只有到了土地归还给英国和法国之间的战争。并赔偿损失只能更换冷战时期,泰国政府在冷战期间,先后通过了美国的一个战略合作伙伴。如从反对共产主义在印度支那扩张的政策中可以看出。并已派出军队与盟军作战,包括朝鲜战争和越南战争,美国面临着在20世纪60年代和70年代共产党游击队,但是,这类问题很少影响到国家的稳定得多。和游击队失去了最终的民主发展的各种环境因素已经被开发之后。人们愿意花更多的主权。宣称主权的军队回来,它会定期发生。即使在最 2516 10月14日的事件发生后,军方并没有持有永久主权了。在政治家手中的主权的过渡。集团下设三大类:军队的角色转变为一个政治团体。





































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (จีน) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
曼谷吞武里君主和
在该时期,塔克辛

.2310-2325塔克辛驱逐后开始从泰国缅甸军队的统一大业,做迁都吞武里。通过建立政治有着决定性的影响。由君主统治,政治,后来在塔克辛国王拉玛世界建立了曼谷王朝的君主。旧的时代的开始
在过去的年代,缅甸军队被赶出土地1790永久期。的影响,非แคว้นล้านนา缅甸。兰纳王朝(曼谷王朝统治以来的流行。
在Rattanakosin时期泰国也面对侵略邻国,包括九军的战争,叛乱,战争以及Tha Din Daeng你亚科与缅甸和越南与老挝和อานามสยามยุทธ

该交易目前还没有与西方国家。当西方人开始贸易。中国已经意识到,在泰国的商人,他们的特权。有其他人访问。外交代表如法兰克福约翰先生,英国东印度公司进入拉玛二世统治时期,但还没有达成任何协议。伯尔尼条约、条约等.但这只是协议没有多大影响。越来越多的西方人很少,任何特权。

然而,该条约是西方外交被动贸易协定贸易的中国商人与肖恩英国的鸦片贸易,想赚钱,但不成功。约瑟夫·布鲁克(英国人)来自美国.法院让西方人
怀恨在心

,面对西方列强的殖民地。英国在缅甸.第二2369国王所统治,实现国家威胁来自欧洲在这些国家的和解政策,多次暹罗领土变更然而,在西方国家没有殖民地。



6月24日革命时的变化.一组称为2475革命党人统治形态的变化。君主立宪制是从脱氧核糖核酸以前,这个国家的最高统治者的权力,主要是长时间失去了最后通过宪法草案.2475教授是第一个永久宪法
在这样的事件。政治斗争之间的斗争仍然是君主专制政权领导人在新政权的领导人,包括新的冲突。一年后25革命大萧条时代的领域,导致在后续的时间这些变化被认为是统治性的“风度”由于泰国的民主还没有准备好第二次世界大战的

第二次世界大战期间。有了夜的街头抗议,要求政府派军队的学生.จอมพลแปลก法国印度支那河和侵略。土地4省回来。通过已知的干扰和氢氧化钾常战斗
珍珠港事件后,美国海军日本军队入侵泰国。政府需要通过จอมพลแปลก领土。·日本合作政策对美国和英国宣战。政府的政策对这些国内和国外。面对经济衰退,因为泰国
第二次世界大战结束后.虽然泰国2488战败国陷入战争。但由于泰国自由运动。盟军占领,使无效。只需要恢复领土与英国和法国之间的战争冷战




政府的政策是冷战期间美国的盟友可以看出,从政策,反对扩大印度支那共产党也派兵加入盟军,包括朝鲜战争泰国国内的共产主义游击队的问题,然而,在1970 1960年代这些问题不影响国家安全。最后,游击队走了

。民主发展


在不同的环境发展。人民主权的准备,更容易使用从军事要求恢复主权后发生事件的最后阶段10月14日教授2516军事主权永久不能持有。因此改变了主权的政客手中。由一群人,一群士兵,三个主要群体的角色转变成为一个政治家。
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: