Species 1.Australopithecus afarensisMain characteristics Slightly larger than chimphaensi high 1-1.5 m (3-5 ft), 25-50 kg body weight, there is a smaller brain, approximately 380-450 cm. Longer range stand sleeve range is A. afarensis fossil discovered your SIM in Africa. There is a woman. Named Australopithecus afarensis "Lucy" fossil "Lucy," the name Lu c 13 fossil was found in the North of the desert in Ethiopia in 1974 by Donald Johanson fossil dune years has more than 3 million year-old SIM. The skeleton is a woman walked straight.2. Australopithecus africanusHuman Sciences students believe that brain size A.afarensis A.africanus evolved from somewhere between 494-600 cm. height approx. 1.4 m flat front tooth (incisor) are small silicone A. africanus's fossil was found in Tanzania and Ethiopia. About 3 million years.3. Australopithecus robustusThere is life around 2.3 million years ago-1.3. Looks different from the first two species is brain size is about 500-600 cm. height approx. 1.5 m weight approx. 45 kg is evidence found that A. robustus has different wiring evolution and extinction.4. Australopithecus boiseiHuman Sciences students have found this species to human wanon. Different line splits from the evolution of the A. afarensis brain look like A. robustus has a large Jaw and teeth, more than its width has been living on the continent of Africa. During the 2.5-1.2 million a year.The genus Homo is 1 consists of 3 species: Homo habilis, Homo erectus, Homo sapiens.ยังเป็นที่ถกเถียงไม่สิ้นสุดว่า แท้จริงแล้ว "ฮอบบิต" คือมนุษย์ที่มีสปีชีส์เฉพาะหรือเป็นเพียงแค่ "คนแคระ" ธรรมดาเท่านั้น ล่าสุดมีงานวิจัยออกมายืนยันว่า ฟอสซิลของมนุษย์ตัวเล็กซึ่งพบบนเกาะของอินโดนีเซียตั้งแต่ปี 2546 นี้ เป็นฟอสซิลของมนุษย์สปีชีส์ใหม่อย่างแน่นอน"ฮอบบิต" (Hobbit) มนุษย์ตัวเล็กที่สูงเพียงเมตรและหนักราว 30 กิโลกรัมซึ่งมีเครื่องมือล่าสัตว์ขนาดเล็กเหมาะสมกับขนาดตัวนี้ ได้อพยพสู่เกาะอันไกลโพ้นในอินโดนีเซียเมื่อประมาณ 8,000 ปีมาแล้ว แต่เอเอฟพีระบุว่าฟอสซิลของพวกเขามีอายุถึง 18,000 ปี และนับแต่ฟอสซิลของพวกเขาได้รับการค้นพบบนเกาะฟลอเรสของอินโดนีเซียเมื่อปี 2546 แวดวงวิทยาศาสตร์ก็ถกเถียงกันเรื่อยมาถึงการจำแนกสายพันธุ์ของมนุษย์สปีชีส์นี้ผู้เชี่ยวชาญบางคนยืนยันว่า ฮอบบิตสืบเชื้อสายมาจากมนุษย์โฮโมอิเร็คตัส (Homo erectus) และบางกลุ่มก็ว่าวิวัฒนาการไม่น่าจะทำให้เกิดขนาดสมองที่เล็กอย่างที่พวกเขาเป็นได้ ส่วนนักวิทยาศาสตร์หลายคนกล่าวว่า "โฮโมฟลอเรไซเอนซิส" (Homo floresiensis) ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นสปีชีส์ของมนุษย์แคระนั้น แคระแกร็นลงเนื่องจากการคัดสรรโดยธรรมชาติเป็นเวลานับพันปี ผ่านกระบวนการทำให้แคระเนื่องจากการแยกไปอยู่เกาะขณะที่อีกจำนวนหนึ่งแย้งว่าวิวัฒนาการที่ทำให้สมองหดเล็กลงนั้น ไม่สามารถทำให้สมองลดลงไปมีขนาดเท่าสมองชิมแปนซีได้ ซึ่งเป็นขนาดเพียง 1 ใน 3 ของขนาดสมองมนุษย์ในปัจจุบัน แต่มีเพียงคำอธิบายเดียวที่น่าจะมีเหตุผลพอรับฟังได้ ซึ่งยืนยันว่าตัวอย่างที่พบจำนวนหนึ่งนั้นมีพันธุกรรมไม่ปกติ อันเป็นผลมาจากกะโหลกที่เล็กผิดปกติหรือพวกเขาอาจจะทุกข์ทรมานจากความแคระแกร็นเนื่องจากความบกพร่องของไทรอยด์ล่าสุด ทั้งเอเอฟพีและบีบีซีนิวส์ระบุว่า มีงานวิจัย 2 ชิ้นที่เผยแพร่ผ่านวารสารเนเจอร์ (Nature) ออกมายืนยันว่า ฮอบบิตคือมนุษย์สปีชีส์ใหม่อย่างแน่นอน ซึ่ง วิลเลียม จังเกอร์ส (William Jungers) จากมหาวิทยาลัยสโตนีบรูค (Stony Brook University) ในนิวยอร์ก สหรัฐฯ ได้นำคณะวิเคราะห์เท้าของฮอบบิต ซึ่งในบางมุมคล้ายกับมนุษย์มาก โดยนิ้วหัวแม่เท้าเรียงกับนิ้วอื่นๆ และมีข้อนิ้วที่ยืดขยายได้เมื่อน้ำหนักตัวลงไปที่เท้า ซึ่งเป็นลักษณะที่ไม่พบในลิงใหญ่ แต่ลักษณะนิ้วเท้าก็ยาวแตกต่างจากมนุษย์ในยุคปัจจุบันมาก โดยมีการถ่วงดุลความใหญ่ ยาวและความโค้งของนิ้วเท้า ส่วนโครงสร้างการรองรับน้ำหนักก็ใกล้เคียงกับชิมแปนซีหลักฐานทางโบราณคดีที่เพิ่งค้นพบเร็วๆ นี้ในเคนยา แสดงให้เห็นว่าเท้าของมนุษย์ปัจจุบันนั้นวิวัฒนาการมามากกว่า 1.5 ล้านแล้ว ซึ่งใกล้เคียงกับมนุษย์โฮโมอิเร็คตัส ดังนั้นนอกจากฮอบบิตจะมีลักษณะดั้งเดิมมายาวนานแล้ว พวกเขาต้องแยกสายวิวัฒนาการออกมาจากมนุษย์ตั้งแต่แรกเริ่มเลยทีเดียว"สิ่งนี้ชี้ว่าบรรพบุรุษของพวกเขาต้องไม่ใช่โฮโมอิเร้คตัสอย่างแน่นอน แต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบรรพบุรุษคล้ายคนมากซึ่งกระจายตัวทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังไม่ได้รับการบันทึก" ข้อสรุปที่จังเกอร์สและคณะได้รับอย่างไรก็ดียังคงมีความเห็นแย้ง โดยเอเอฟพีและบีบีซีนิวส์ได้อ้างถึงการศึกษาของ
การแปล กรุณารอสักครู่..
