To search for resources across the world via the Internet network. Allows the user to find the information that you want to quickly and easily meet your needs most. The library is a work unit that is responsible for collecting, storing, and providing information to make each faculty research. Students Researchers and institutions, so that when there is a continuous development of technology, and applied with the library, the library's new format was born and named differently, such as the electronic library (Electronic Library) digital library (Digital Library) Combined (Hybrid Library) library and virtual library (Virtual Library), the user can search the document library service publications that they want. They can retrieve through a network that includes the information Expressway. This information system is causing the convenience. Don't waste time and get information that meets your needs in a quick time. ดังนั้นห้องสมุดเสมือนจึงเป็นที่รวมแหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการจัดการอย่างมีระบบและให้บริการค้นคืนสารสนเทศแบบออนไลน์ในระบบเครือข่าย โดยที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงจากระยะไกลมายังห้องสมุดเพื่อสืบค้นและใช้สารสนเทศของห้องสมุดหรือเชื่อมโยงกับแหล่งสารสนเทศอื่นได้ทุกที่ในระบบเครือข่าย เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล This is because education has a wide range of learning needs and styles of online libraries are going to have a role, and it is extremely important for education. To learn about current and future needs, the study focused on everyone. Every unit in the population can participate in educational management. Formal education. The study of a lifetime to have a virtual online library needs to facilitate the learning of everyone throughout life. ในปัจจุบันการวิจัยเกี่ยวกับการใช้บริการห้องสมุดถูกดำเนินการศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอโดยเจ้าหน้าที่ของห้องสมุดในแต่ละแห่งเองเพื่อประเมินความพึงพอใจ ปัญหาของการใช้บริการ และการได้รับบริการด้านต่างๆ และมีการพัฒนากระบวนการวิจัยและเก็บข้อมูลเป็นระยะๆ ทั้งการวิจัยเพื่อประเมินผลการให้บริการและการวิจัยเปรียบเทียบกับการให้บริการในรูปแบบอื่นๆ โดยมุ่งผลของการวิจัยเพื่อพัฒนาการให้บริการแก่นักศึกษาและบุคลากร รวมทั้งผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกจากการรับบริการของห้องสมุดให้มากที่สุด โดยพบว่าในแง่ของการแสดงความคิดเห็นต่อการใช้บริการ การใช้บริการห้องสมุดแบบเผชิญหน้านั้น ตัวบุคคลจะให้ข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นโดยแสดงออกในทางละมุนละม่อมและอ้อมค้อมมากกว่าการใช้บริการผ่านห้องสมุดเสมือนจริงที่ไม่ได้พบหน้าบรรณารักษ์โดยตรง อาจเนื่องจากการใช้บริการและการแสดงความคิดเห็นต่างๆ ผ่านห้องสมุดเสมือนสามารถแสดงได้โดยเสรีไม่ถูกสังเกตจากบุคคลรอบข้าง การแสดงความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างผ่านการใช้บริการห้องสมุดเสมือนจึงน่าจะมีความเป็นอิสระของการตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นมากกว่า แต่ในขณะเดียวกันความแตกต่างของความคิดเห็นต่อการใช้บริการและการเรียนรู้ต้องพิจารณาร่วมกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการด้วยเช่นกัน เพราะการใช้บริการห้องสมุดเสมือนจำเป็นต้องใช้ความรู้และความเข้าใจระบบการใช้บริการด้วย เพราะความแตกต่างของตัวบุคคล ย่อมมีผลต่อการเลือกใช้ห้องสมุดและย่อมสะท้อนกลับออกมาเป็นความพึงพอใจของการใช้บริการในที่สุด ในขณะเดียวกันถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะมีการให้บริการห้องมุดเสมือนเพิ่มมากขึ้น และแม้ห้องสมุดเสมือนจะสามารถให้บริการสืบค้น จองหนังสือและเอกสารต่างๆ ได้เช่นเดียวกับการใช้ห้องสมุดปรกติ หากแต่ห้องสมุดเสมือนยังต้องอาศัยผู้ดูแลคือบรรณารักษ์ ดังนั้นผู้ให้บริการที่ดีย่อมส่งผลต่อการบริการที่ดีของทั้งห้องสมุดปรกติและห้องสมุดแบบเสมือนจริงทั้งคู่การวิจัยต่างๆ เกี่ยวกับห้องสมุดเสมือนจึงควรศึกษาบทบาทของบรรณารักษ์กับการให้บริการของห้องสมุดเสมือนเพื่อเพิ่มข้อมูลและเป็นประโยชน์ต่อการนำผลการวิจัยมาใช้ได้มากยิ่งขึ้น อีกทั้งจะเป็นประโยชน์ต่อไปกับผู้ใช้ห้องสมุดเสมือนทุกๆ คนในอนาคต
การแปล กรุณารอสักครู่..