การสร้างประวัติส่วนตัวที่ทำให้ผู้คัดเลือกสะดุดตาและให้ความสนใจนั้นไม่ใ การแปล - การสร้างประวัติส่วนตัวที่ทำให้ผู้คัดเลือกสะดุดตาและให้ความสนใจนั้นไม่ใ อังกฤษ วิธีการพูด

การสร้างประวัติส่วนตัวที่ทำให้ผู้คั

การสร้างประวัติส่วนตัวที่ทำให้ผู้คัดเลือกสะดุดตาและให้ความสนใจนั้นไม่ใช่เรื่องยาก นี่คือเคล็ดลับที่ช่วยทำให้ประวัติส่วนตัวกลายเป็นสิ่งที่น่าสนใจและคุ้มค่ากับการสละเวลามาอ่าน

ควรเขียนประวัติส่วนตัวอย่างไรในสภาวะที่ต้องแก่งแย่งกับผู้ที่จบการศึกษาใหม่และผู้สมัครงานท่านอื่นๆมากมาย คุณสมบัติที่แท้จริงที่ทำให้คุณชนะใจผู้คัดเลือกและตัดสินใจจ้างคุณเข้าไปทำงานในตำแหน่งต่างๆคืออะไร? มันขึ้นอยู่กับการตัดสินใจและการกระทำในช่วงโอกาสที่คุณได้รับซึ่งไม่มีทางรู้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด เช่น ข้อบกพร่องในการแต่งกาย น้ำหอมที่ใช้ ทักษะคำพูดที่ใช้กับผู้อื่น เป็นต้น

การเขียนประวัติส่วนตัวก็คือ การวางแผนการตลาดให้กับตนเองในขั้นพื้นฐาน เป็นการประกาศให้ทราบว่าคุณมีความสามารถและทักษะคุณสมบัติที่เหมาะสมกับงานในด้านใด

ควรลืมการถ่อมตัวของตนเองไปให้หมดในเรื่องนี้ เช่นที่ เจ ไมเคิล ฟาร์

ผู้เชี่ยวชาญด้านการประกอบอาชีพกล่าวไว้ในวารสารออนไลน์ที่เว็บไซต์ Vidbook.com ว่า “ประวัติส่วนตัวไม่มีข้อจำกัดในเรื่องสถานที่และทักษะความสามารถ”

ดังนั้นควรทำอย่างไรเพื่อให้เป็นประวัติที่เหมาะสม น่าสนใจ และไม่ใช่การโอ้อวดมากจนเกินไปเหมือนที่พวกนักการเมืองชอบทำ และควรระบุคุณสมบัติใดลงไปในประวัติส่วนตัวนั้นมากที่สุด?

จำไว้ว่า ประวัติส่วนตัวไม่ได้จัดทำขึ้นเพื่อให้ได้งานทำอย่างเดียว แต่เป็นการเปิดโอกาสสำหรับตนเองในการสัมภาษณ์งาน ซึ่งจะนำไปสู่การจ้างงานต่อไป แต่ควรคำนึงถึงเป้าหมายในระยะยาวด้วยเช่นกัน ประการแรก ประวัติส่วนตัวควรจะช่วยให้คุณสามารถผ่านเข้าสู่การคัดเลือกและการสัมภาษณ์ให้ได้ พนักงานฝ่ายสรรหาว่าจ้างบุคคลากรที่ดีจะให้ความสนใจใบสมัครที่น่าสนใจเท่านั้น ดังนั้นควรทำอย่างไรเพื่อให้พวกเขาสนใจในตัวคุณมากเพียงพอที่จะนัดมาสัมภาษณ์

นี่คือ 13 ข้อแนะนำในการเขียนประวัติส่วนตัวแบบมืออาชีพเพื่อนำคุณไปสู่การสัมภาษณ์งาน


จัดกลุ่มข้อมูลประเภทเดียวกัน
เพิ่มรายละเอียดต่างๆลงไปบนหน้าประดาษ เช่น ข้อมูลในการติดต่อกลับ ประวัติการทำงานและความสำเร็จที่ได้รับ ข้อมูลด้านการศึกษา การเข้าร่วมสัมมนาต่างๆ เกียรติประวัติที่เคยได้รับ ทักษะและความสามารถที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลส่วนตัว ฯลฯ ไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของการเขียน เพียงแค่อย่าลืมใส่รายละเอียดข้อมูล ความสำคัญ และความสามารถที่เกี่ยวข้องก็เพียงพอแล้ว


เริ่มต้นด้วยชื่อและข้อมูลในการติดต่อกลับ
ข้อมูลเพื่อให้ติดต่อกลับควรจะอยู่ด้านขวาบนสุด ถัดจากชื่อและข้อมูลอ้างอิง เพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา รวมทั้งรายละเอียดดังต่อไปนี้: ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน เบอร์โทรศัพท์บ้านและมือถือ เบอร์แฟกซ์ และอีเมล์ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่ขาดไม่ได้ เพราะอย่างน้อยก็แสดงให้เห็นว่าคุณมีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์


ระบุเป้าหมายในการทำงาน
การบอกจุดมุ่งหมายในการทำงาน “เป็นแนวทางที่สามารถบ่งบอกถึงความเป็นตัวคุณและสิ่งที่คุณสนใจได้” อ้างอิงจาก VirtualResume.com บริษัทที่ดำเนินธุรกิจด้านการรับสมัครงานออนไลน์ ถ้าสนใจตำแหน่งงานใด ก็ควรระบุเป้าหมายในการทำงานให้สอดคล้องกับชื่อตำแหน่งหรืองานนั้น เช่น ผู้จัดการด้านบัญชี เป็นต้น

แต่ถ้าหากคุณต้องการเปิดโอกาสให้กว้างสำหรับตนเอง ก็สามารถทำได้โดยการเขียนรายละเอียดและลักษณะงานทั่วๆไปที่คุณสนใจ (เช่น ต้องการใช้ความสามารถของตนเองในด้านการเงินและการบริหารเพื่อทำงานในตำแหน่งการจัดการระดับอาวุโส โดยมุ่งหวังให้ตนเองมีได้รับความสำเร็จไปพร้อมๆกับความก้าวหน้าขององค์กร เป็นต้น) ควรระมัดระวังในการระบุเป้าหมายเหล่านี้ เช่น “ตำแหน่งงานนี้มีความเหมาะสมกับคุณสมบัติที่ตนเองมีอยู่” หรือ “เพื่อดำเนินการตามที่สมควรจะทำ” เป็นต้น


ให้รายละเอียดคุณสมบัติของตนเองโดยสรุปอย่างสั้นๆ
ซินเธีย บุยซา พนักงานฝ่ายบุคคลและฝ่ายประสานงานขององค์กร เอ็น จี โอ ในประเทศไทย กล่าวว่า เธอรู้สึกชื่นชม ผู้ที่เขียนประวัติส่วนตัวโดยระบุความสามารถของตนเองได้อย่างชัดเจนและไม่เยิ่นเหย่อจนเกินไป

“ฉันประทับใจผู้สมัครท่านหนึ่งที่จุดแข็งของตนเองเป็นอย่างดี แต่นั่นก็ยังไม่สำคัญเท่ากับการที่เขาสามารถทำให้เราเชื่อถือในความสามารถของเขาจากการอ่านประวัติเพียงย่อหน้าเดียวได้” เป็นสิ่งเล็กๆน้อยๆที่มีส่วนในการพิจารณาผู้สมัคร เธอกล่าวเพิ่มเติมว่า มันเป็นจุดเด่นที่สื่อถึงความคิดได้อย่างชัดเจนและทำผู้สมัครท่านนั้นโดดเด่นออกมาจากกลุ่มผู้สมัครอื่นเป็นพันคน

บทสรุปสำหรับความสามารถและคุณสมบัติของตนเองควรประกอบด้วย:


ประสบการณ์ในการทำงาน (ระบุเป็นเดือน,ปี)
สาขางานที่เชี่ยวชาญและให้ความสนใจเป็นพิเศษ (เช่น ตอนอายุ 26 ปี เคยเป็นพนักงานอายุน้อยที่สุดในบริษัทที่ได้เลื่อนตำแหน่งมาเป็นผู้จัดการ)
ทักษะและความสามารถเฉพาะตัว (เช่น เป็นอาจารย์พิเศษให้สถาบันเอสเอพี)
ข้อมูลอื่นๆควรเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งงานนั้นโดยตรง
ควรเขียนสรุปประวัติของตนเองให้น่าเชื่อถือโดยให้ความสำคัญกับข้อแนะนำด้านบน แต่อย่า ลืมว่าต้องเขียนโดยสรุปไม่ควรเกินสองถึงสามประโยคเท่านั้น


เริ่มต้นด้วยการระบุประสบการณ์ในการทำงาน
ถ้าคุณไม่ใช่ผู้ที่พึ่งสำเร็จการศึกษา คุณควรจะเริ่มการเขียนประวัติส่วนตัวของคุณโดยการเล่าประวัติการทำงานที่ผ่านมาของตนเอง เริ่มจากตำแหน่งงานล่าสุด แล้วค่อยไล่เรียงถอยหลังไปตามลำดับ พร้อมทั้งระบุชื่อบริษัท ระยะเวลาที่ทำงานรวมทั้งหน้าที่หลักและความรับผิดชอบในตำแหน่งงานเหล่านั้นด้วย

“ไม่ควรปกปิดข้อมูลดังต่อไปนี้ ควรให้รายละเอียดให้ครบทุกด้าน” ควรเปิดเผยประสบการณ์ที่คุณได้รับตามลำดับเพื่อแสดงจุดแข็งและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งงานของตนเอง

อีกประการหนึ่ง การเปลี่ยนงานอย่างรวดเร็ว หรือการย้ายไปทำงานในองค์กรใหม่ภายในระยะเวลาอันสั้น หรือเปลี่ยนงานบ่อยจนไม่สามารถบอกรายละเอียดทั้งหมดได้ จะนำไปสู่ปัญหาในเรื่องจรรยาบรรณในการทำงาน ความมั่นคง ความซื่อสัตย์ ฯลฯ นั่นเป็นเหตุผลที่ไม่ควรทำให้เกิดช่องว่าตรงจุดนี้ ดังนั้นควรระบุประสบการณ์ทั้งหมดที่ผ่านมาทั้งงานอดิเรกและงานประจำ (เช่น“ปี 1990
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Create a personal profile, selection of eye-catching and attention, it is not difficult. Here are some tips that can help make personal history has become interesting and worthwhile thing to taking the time to read. ควรเขียนประวัติส่วนตัวอย่างไรในสภาวะที่ต้องแก่งแย่งกับผู้ที่จบการศึกษาใหม่และผู้สมัครงานท่านอื่นๆมากมาย คุณสมบัติที่แท้จริงที่ทำให้คุณชนะใจผู้คัดเลือกและตัดสินใจจ้างคุณเข้าไปทำงานในตำแหน่งต่างๆคืออะไร? มันขึ้นอยู่กับการตัดสินใจและการกระทำในช่วงโอกาสที่คุณได้รับซึ่งไม่มีทางรู้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด เช่น ข้อบกพร่องในการแต่งกาย น้ำหอมที่ใช้ ทักษะคำพูดที่ใช้กับผู้อื่น เป็นต้น การเขียนประวัติส่วนตัวก็คือ การวางแผนการตลาดให้กับตนเองในขั้นพื้นฐาน เป็นการประกาศให้ทราบว่าคุณมีความสามารถและทักษะคุณสมบัติที่เหมาะสมกับงานในด้านใด ควรลืมการถ่อมตัวของตนเองไปให้หมดในเรื่องนี้ เช่นที่ เจ ไมเคิล ฟาร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการประกอบอาชีพกล่าวไว้ในวารสารออนไลน์ที่เว็บไซต์ Vidbook.com ว่า “ประวัติส่วนตัวไม่มีข้อจำกัดในเรื่องสถานที่และทักษะความสามารถ” ดังนั้นควรทำอย่างไรเพื่อให้เป็นประวัติที่เหมาะสม น่าสนใจ และไม่ใช่การโอ้อวดมากจนเกินไปเหมือนที่พวกนักการเมืองชอบทำ และควรระบุคุณสมบัติใดลงไปในประวัติส่วนตัวนั้นมากที่สุด? จำไว้ว่า ประวัติส่วนตัวไม่ได้จัดทำขึ้นเพื่อให้ได้งานทำอย่างเดียว แต่เป็นการเปิดโอกาสสำหรับตนเองในการสัมภาษณ์งาน ซึ่งจะนำไปสู่การจ้างงานต่อไป แต่ควรคำนึงถึงเป้าหมายในระยะยาวด้วยเช่นกัน ประการแรก ประวัติส่วนตัวควรจะช่วยให้คุณสามารถผ่านเข้าสู่การคัดเลือกและการสัมภาษณ์ให้ได้ พนักงานฝ่ายสรรหาว่าจ้างบุคคลากรที่ดีจะให้ความสนใจใบสมัครที่น่าสนใจเท่านั้น ดังนั้นควรทำอย่างไรเพื่อให้พวกเขาสนใจในตัวคุณมากเพียงพอที่จะนัดมาสัมภาษณ์
นี่คือ 13 ข้อแนะนำในการเขียนประวัติส่วนตัวแบบมืออาชีพเพื่อนำคุณไปสู่การสัมภาษณ์งาน


จัดกลุ่มข้อมูลประเภทเดียวกัน
เพิ่มรายละเอียดต่างๆลงไปบนหน้าประดาษ เช่น ข้อมูลในการติดต่อกลับ ประวัติการทำงานและความสำเร็จที่ได้รับ ข้อมูลด้านการศึกษา การเข้าร่วมสัมมนาต่างๆ เกียรติประวัติที่เคยได้รับ ทักษะและความสามารถที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลส่วนตัว ฯลฯ ไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของการเขียน เพียงแค่อย่าลืมใส่รายละเอียดข้อมูล ความสำคัญ และความสามารถที่เกี่ยวข้องก็เพียงพอแล้ว


เริ่มต้นด้วยชื่อและข้อมูลในการติดต่อกลับ
ข้อมูลเพื่อให้ติดต่อกลับควรจะอยู่ด้านขวาบนสุด ถัดจากชื่อและข้อมูลอ้างอิง เพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา รวมทั้งรายละเอียดดังต่อไปนี้: ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน เบอร์โทรศัพท์บ้านและมือถือ เบอร์แฟกซ์ และอีเมล์ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่ขาดไม่ได้ เพราะอย่างน้อยก็แสดงให้เห็นว่าคุณมีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์


ระบุเป้าหมายในการทำงาน
การบอกจุดมุ่งหมายในการทำงาน “เป็นแนวทางที่สามารถบ่งบอกถึงความเป็นตัวคุณและสิ่งที่คุณสนใจได้” อ้างอิงจาก VirtualResume.com บริษัทที่ดำเนินธุรกิจด้านการรับสมัครงานออนไลน์ ถ้าสนใจตำแหน่งงานใด ก็ควรระบุเป้าหมายในการทำงานให้สอดคล้องกับชื่อตำแหน่งหรืองานนั้น เช่น ผู้จัดการด้านบัญชี เป็นต้น

แต่ถ้าหากคุณต้องการเปิดโอกาสให้กว้างสำหรับตนเอง ก็สามารถทำได้โดยการเขียนรายละเอียดและลักษณะงานทั่วๆไปที่คุณสนใจ (เช่น ต้องการใช้ความสามารถของตนเองในด้านการเงินและการบริหารเพื่อทำงานในตำแหน่งการจัดการระดับอาวุโส โดยมุ่งหวังให้ตนเองมีได้รับความสำเร็จไปพร้อมๆกับความก้าวหน้าขององค์กร เป็นต้น) ควรระมัดระวังในการระบุเป้าหมายเหล่านี้ เช่น “ตำแหน่งงานนี้มีความเหมาะสมกับคุณสมบัติที่ตนเองมีอยู่” หรือ “เพื่อดำเนินการตามที่สมควรจะทำ” เป็นต้น


ให้รายละเอียดคุณสมบัติของตนเองโดยสรุปอย่างสั้นๆ
ซินเธีย บุยซา พนักงานฝ่ายบุคคลและฝ่ายประสานงานขององค์กร เอ็น จี โอ ในประเทศไทย กล่าวว่า เธอรู้สึกชื่นชม ผู้ที่เขียนประวัติส่วนตัวโดยระบุความสามารถของตนเองได้อย่างชัดเจนและไม่เยิ่นเหย่อจนเกินไป

“ฉันประทับใจผู้สมัครท่านหนึ่งที่จุดแข็งของตนเองเป็นอย่างดี แต่นั่นก็ยังไม่สำคัญเท่ากับการที่เขาสามารถทำให้เราเชื่อถือในความสามารถของเขาจากการอ่านประวัติเพียงย่อหน้าเดียวได้” เป็นสิ่งเล็กๆน้อยๆที่มีส่วนในการพิจารณาผู้สมัคร เธอกล่าวเพิ่มเติมว่า มันเป็นจุดเด่นที่สื่อถึงความคิดได้อย่างชัดเจนและทำผู้สมัครท่านนั้นโดดเด่นออกมาจากกลุ่มผู้สมัครอื่นเป็นพันคน

บทสรุปสำหรับความสามารถและคุณสมบัติของตนเองควรประกอบด้วย:


ประสบการณ์ในการทำงาน (ระบุเป็นเดือน,ปี)
สาขางานที่เชี่ยวชาญและให้ความสนใจเป็นพิเศษ (เช่น ตอนอายุ 26 ปี เคยเป็นพนักงานอายุน้อยที่สุดในบริษัทที่ได้เลื่อนตำแหน่งมาเป็นผู้จัดการ)
ทักษะและความสามารถเฉพาะตัว (เช่น เป็นอาจารย์พิเศษให้สถาบันเอสเอพี)
ข้อมูลอื่นๆควรเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งงานนั้นโดยตรง
ควรเขียนสรุปประวัติของตนเองให้น่าเชื่อถือโดยให้ความสำคัญกับข้อแนะนำด้านบน แต่อย่า ลืมว่าต้องเขียนโดยสรุปไม่ควรเกินสองถึงสามประโยคเท่านั้น


เริ่มต้นด้วยการระบุประสบการณ์ในการทำงาน
ถ้าคุณไม่ใช่ผู้ที่พึ่งสำเร็จการศึกษา คุณควรจะเริ่มการเขียนประวัติส่วนตัวของคุณโดยการเล่าประวัติการทำงานที่ผ่านมาของตนเอง เริ่มจากตำแหน่งงานล่าสุด แล้วค่อยไล่เรียงถอยหลังไปตามลำดับ พร้อมทั้งระบุชื่อบริษัท ระยะเวลาที่ทำงานรวมทั้งหน้าที่หลักและความรับผิดชอบในตำแหน่งงานเหล่านั้นด้วย

“ไม่ควรปกปิดข้อมูลดังต่อไปนี้ ควรให้รายละเอียดให้ครบทุกด้าน” ควรเปิดเผยประสบการณ์ที่คุณได้รับตามลำดับเพื่อแสดงจุดแข็งและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งงานของตนเอง

อีกประการหนึ่ง การเปลี่ยนงานอย่างรวดเร็ว หรือการย้ายไปทำงานในองค์กรใหม่ภายในระยะเวลาอันสั้น หรือเปลี่ยนงานบ่อยจนไม่สามารถบอกรายละเอียดทั้งหมดได้ จะนำไปสู่ปัญหาในเรื่องจรรยาบรรณในการทำงาน ความมั่นคง ความซื่อสัตย์ ฯลฯ นั่นเป็นเหตุผลที่ไม่ควรทำให้เกิดช่องว่าตรงจุดนี้ ดังนั้นควรระบุประสบการณ์ทั้งหมดที่ผ่านมาทั้งงานอดิเรกและงานประจำ (เช่น“ปี 1990
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: