ความสัมพันธ์ไทยกับญี่ปุ่นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การติดต่อค้าขายระหว่าง การแปล - ความสัมพันธ์ไทยกับญี่ปุ่นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การติดต่อค้าขายระหว่าง อังกฤษ วิธีการพูด

ความสัมพันธ์ไทยกับญี่ปุ่นในสมัยกรุง

ความสัมพันธ์ไทยกับญี่ปุ่นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
การติดต่อค้าขายระหว่างไทยกับญี่ปุ่นได้เริ่มต้นขึ้นอีกครั้งหลังจากได้หยุดชะงักไปเมื่อครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ในระยะเริ่มแรกนั้นการค้าส่วนใหญ่เป็นเพียงการค้าเล็กๆน้อยๆ และบริษัทรับส่งสินค้ากับไทยเท่านั้น ในช่วงนี้การค้าของชาวญี่ปุ่นในไทยดำเนินไปด้วยความยากลำบากเนื่องจากมีการแข่งขันเพิ่มมากขึ้นกับชาวจีนและชาวอังกฤษที่มีการค้าในไทยอยู่แต่เดิมแล้ว ทำให้ปริมาณการค้าระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงนี้มีจำนวนที่น้อยมาก
ต่อมา ภายหลังจากการตกลงทำสัญญาพระราชไมตรี การค้าขาย และการเดินเรือในระหว่างกรุงสยามกับกรุงญี่ปุ่น พ.ศ.2440 แล้วนั้น ส่งผลให้การค้าระหว่างไทยกับญี่ปุ่นเริ่มขยายเพิ่มมากขึ้น และปริมาณการค้าระหว่างทั้งสองประเทศก็เพิ่มขึ้นตามลำดับ โดยเฉพาะในช่วงระหว่างที่เกิดสงครามโลกครั้งที่1 ญี่ปุ่นได้มีโอกาสเข้าสู่ตลาดการค้าของไทยแทนประเทศตะวันตกได้เป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าประเทศตะวันตกจะกลับเข้าสู่ตลาดการค้าของไทย ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่1สิ้นสุดลงก็ตาม ญี่ปุ่นก็ยังสามารถขยายปริมาณการค้าได้ดี อาจเป็นเพราะสินค้าญี่ปุ่นเป็นที่นิยมในตลาดการค้าของไทย เพราะมีราคาถูกตรงตามความต้องการของผู้บริโภคและสามารถสร้างกำไรให้กับผู้ขายด้วยเช่นกัน
อย่างไรก็ตาม การค้าของญี่ปุ่นในไทย ก็ต้องอาศัยชาวจีนที่ทำหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางอยู่ทั่วประเทศ สินค้าที่ญี่ปุ่นส่งเข้าสู่ตลาดการค้าของไทยโดยตรงนั้น เป็นการสั่งเข้าโดยพ่อค้าญี่ปุ่นครึ่งหนึ่ง ส่วนที่เหลือสั่งเข้าโดยพ่อค้าชาวตะวันตกหนึ่งในสาม และพ่อค้าชาวจีนสองในสาม นอกจากนี้ ยังมีการสั่งเข้าโดยทางอ้อม คือ สั่งเข้าโดยผ่านทางฮ่องกง และสิงคโปร์โดยพ่อค้าจีน ซึ่งมีปริมาณพอๆที่ถูกสั่งเข้าด้วยตรงอีกด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความสัมพันธ์ไทยกับญี่ปุ่นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การติดต่อค้าขายระหว่างไทยกับญี่ปุ่นได้เริ่มต้นขึ้นอีกครั้งหลังจากได้หยุดชะงักไปเมื่อครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ในระยะเริ่มแรกนั้นการค้าส่วนใหญ่เป็นเพียงการค้าเล็กๆน้อยๆ และบริษัทรับส่งสินค้ากับไทยเท่านั้น ในช่วงนี้การค้าของชาวญี่ปุ่นในไทยดำเนินไปด้วยความยากลำบากเนื่องจากมีการแข่งขันเพิ่มมากขึ้นกับชาวจีนและชาวอังกฤษที่มีการค้าในไทยอยู่แต่เดิมแล้ว ทำให้ปริมาณการค้าระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงนี้มีจำนวนที่น้อยมาก ต่อมา ภายหลังจากการตกลงทำสัญญาพระราชไมตรี การค้าขาย และการเดินเรือในระหว่างกรุงสยามกับกรุงญี่ปุ่น พ.ศ.2440 แล้วนั้น ส่งผลให้การค้าระหว่างไทยกับญี่ปุ่นเริ่มขยายเพิ่มมากขึ้น และปริมาณการค้าระหว่างทั้งสองประเทศก็เพิ่มขึ้นตามลำดับ โดยเฉพาะในช่วงระหว่างที่เกิดสงครามโลกครั้งที่1 ญี่ปุ่นได้มีโอกาสเข้าสู่ตลาดการค้าของไทยแทนประเทศตะวันตกได้เป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าประเทศตะวันตกจะกลับเข้าสู่ตลาดการค้าของไทย ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่1สิ้นสุดลงก็ตาม ญี่ปุ่นก็ยังสามารถขยายปริมาณการค้าได้ดี อาจเป็นเพราะสินค้าญี่ปุ่นเป็นที่นิยมในตลาดการค้าของไทย เพราะมีราคาถูกตรงตามความต้องการของผู้บริโภคและสามารถสร้างกำไรให้กับผู้ขายด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม การค้าของญี่ปุ่นในไทย ก็ต้องอาศัยชาวจีนที่ทำหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางอยู่ทั่วประเทศ สินค้าที่ญี่ปุ่นส่งเข้าสู่ตลาดการค้าของไทยโดยตรงนั้น เป็นการสั่งเข้าโดยพ่อค้าญี่ปุ่นครึ่งหนึ่ง ส่วนที่เหลือสั่งเข้าโดยพ่อค้าชาวตะวันตกหนึ่งในสาม และพ่อค้าชาวจีนสองในสาม นอกจากนี้ ยังมีการสั่งเข้าโดยทางอ้อม คือ สั่งเข้าโดยผ่านทางฮ่องกง และสิงคโปร์โดยพ่อค้าจีน ซึ่งมีปริมาณพอๆที่ถูกสั่งเข้าด้วยตรงอีกด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Diplomatic relations with Japan in the period
.Trade between Thailand and Japan have started up again after the disruption to the times when the Ayutthaya period. In the beginning of trade mainly only trade a little.In this period of trade in Japanese black pepper hill with difficulty because there is more competition with Chinese and British trade in Thailand is originally.Later, after agreeing a diplomatic relations, trading, and navigation during the กรุงสยามกับ in Japan.2440 then. The resulting trade between Thailand and Japan began to expand more and more. And the volume of trade between the two countries have increased respectively. Especially during World War II, the 1Although the western countries will return to the market competition. After World War 1 ends. Japan also can expand the trade volume. May be because Japanese products popular in the market trade industry.However, the trade of Japan in Asia. It requires Chinese serves as a middleman in nationwide. Products into the market by Japanese's trade there. It is ordered by the Japanese half.And the Chinese merchants two-thirds also in order to indirectly is ordered by via Hong Kong, and Singapore by Chinese merchants. The volume, as well as being ordered to directly with
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: