ในเวทีอาเซียนซึ่งมีเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ประกอบด้วย ๓ การแปล - ในเวทีอาเซียนซึ่งมีเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ประกอบด้วย ๓ อังกฤษ วิธีการพูด

ในเวทีอาเซียนซึ่งมีเป้าหมายการเป็นป

ในเวทีอาเซียนซึ่งมีเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก ได้แก่ ๑) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political- Security Community - APSC) ๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community- AEC) และ ๓) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community- ASCC) ก็ได้กำหนดกรอบแผนงานในแต่ละเสา (blueprint) โดยมีแผนงานที่เกี่ยวข้องกับ CSR ดังปรากฏในแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๘ หัวข้อความยุติธรรมและสิทธิ ข้อ C3. ส่งเสริมความรับผิดชอบ ต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ (Promoting Corporate Social Responsibility – CSR) โดยกำหนดเป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์: ส่งเสริมให้เรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจรวมไว้ในเรื่องที่ภาคธุรกิจต้องดำเนินการเพื่อให้มีส่วนในการสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนในรัฐสมาชิกอาเซียน รวมทั้งได้กำหนดมาตรการซึ่งอาจอ้างอิงจาก ISO 26000 ข้างต้นและมีมาตรการเรื่อง เพิ่มการตระหนักรับรู้ในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมในอาเซียนเพื่อความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนระหว่างกิจกรรมทางการค้าและชุมชนที่องค์กร ธุรกิจอาศัยอยู่ ปรากฏในแผนงานด้วย
ประเทศไทย โดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) เป็นหน่วยงานด้านการมาตรฐานแห่งชาติ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนประเทศไทยในฐานะที่เป็นสมาชิก ISO ซึ่งหลังจากที่ ISO มีแนวทางที่จะกำหนดมาตรฐาน ISO 26000 ขึ้น สมอ.ได้ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการจาก ผู้ทรงคุณวุฒิในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจาก ๖ ภาคส่วน ๒๕ องค์กร เข้าร่วมดำเนินการกำหนดมาตรฐาน ดังกล่าวร่วมกัน พร้อมทั้งได้จัดให้มีการสัมมนาเรื่อง ISO 26000 อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ตลอดจนสร้างความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเกี่ยวกับมาตรฐานดังกล่าว ก่อนที่จะมีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการ โดยมุ่งหวังให้องค์กรสามารถนำไปใช้ในการดำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ได้อย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดประโยชน์ในทุกภาคส่วนของสังคม ล่าสุดทาง สมอ. ได้จัดทำแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม (Guidance on Social Responsibility) หรือ มอก. 26000 ในฉบับภาษาไทย เพื่อเผยแพร่ให้แก่ผู้ประกอบการไทยได้รับทราบถึงหลักการสำคัญ วิธีการดำเนินการ ประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับ รวมถึงภาคส่วนที่ต้องรับผิดชอบ และจุดสังเกตที่น่าสนใจอีกอย่างคือ ในแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม ISO 26000 นั้นจะใช้คำว่า SR แทนคำว่า CSR เนื่องจากสามารถนำไปใช้ได้กับองค์กรทุกประเภท ที่มีความสนใจในการดำเนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร (Non profit sectors) ขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็กก็ได้ หรือแม้แต่การนำไปใช้ในประเทศ ที่พัฒนาแล้ว หรือกำลังพัฒนาก็ตาม โดยจัดทำประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม มาตรฐานเลขที่ มอก. ๒๖๐๐๐-๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓ และได้ร่วมกับสถาบันไทยพัฒน์ริเริ่มโครงการแนวร่วมการประกอบกิจการตามมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ISO 26000 เพื่อเสริมสร้างการรับรู้ในมาตรฐาน ISO 26000 และ

- ๔ -

การนำไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบ ให้แก่สถานประกอบการในจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ รองรับการเปิดตลาดเสรีในระดับภูมิภาคอาเซียน และการค้าที่ให้ความสำคัญกับ CSR ในระดับสากล โครงการนี้ ในปี ๒๕๕๕ มีสถานประกอบการที่สนใจและสมัครเข้าร่วม ทั้งสิ้น ๑๐๑ ราย ผ่านการเข้าร่วมอบรมและนำไปปฏิบัติ จำนวน ๔๙ ราย (ครอบคลุม ๑๑ จังหวัด) ได้รับรายงานผลการประเมินสมรรถภาพในกระบวนการดำเนินงาน เพื่อนำไปสู่การประเมินให้เป็นสถานประกอบการตัวอย่างด้านความรับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 จากโครงการ จำนวน ๒๐ ราย (ข้อมูล ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๕)
นอกจากนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมก็ได้มีการจัดทำโครงการเกี่ยวกับ CSR โดยใช้ชื่อว่า
โครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างมีส่วนร่วม หรือ CSR-DIW ซึ่งได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานก็ไม่น้อยหน้าเช่นกัน ในฐานะหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายแรงงานทั้งในแง่การกำกับดูแลและการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการส่งเสริมให้มีการนำมาตรฐานแรงงานไทย (มรท. ๘๐๐๑-๒๕๕๓) ซึ่งเป็นมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมด้านแรงงานและเป็นมาตรฐานเชิงสมัครใจไปสู่การปฏิบัติและให้การรับรอง (Certification) หรือการประกาศแสดงตนเอง (Self Declaration) ได้มีการดำเนินการเรื่องนี้มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยมุ่งเน้นยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน ระบบการจัดการด้านแรงงาน รวมถึงสริมสร้างให้ธุรกิจมีการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปัจจุบันกรมมีนโยบายพัฒนาระบบการรับรอง มรท.๘๐๐๑-๒๕๕๓ โดยให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการในการเป็นหน่วยรับรองระบบ มรท.๘๐๐๑-๒๕๕๓ โดยประสานความร่วมมือกับ สมอ. ในการพัฒนาระบบการรับรองให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์สากล จึงได้ตกลงร่วมมือกันจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) เรื่อง ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๔ กรมได้เริ่มการโอนถ่ายงานตรวจประเมินและรับรอง มรท.๘๐๐๑-๒๕๕๓ ให้แก่ภาคเอกชน โดยเริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ทั้งนี้ การถ่ายโอนจะเริ่มต้นจากสถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ ไปสู่ขนาดกลาง และปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ สถานประกอบกิจการทุกแห่งและทุกขนาดให้ภาคเอกชนที่เป็นหน่วยรับรองมาตรฐานแรงงานไทย ดำเนินการตรวจประเมินและรับรอง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
In the ASEAN Forum, which has the goal of ASEAN community in the year 2558 (2015) consists of 3 main pillars: 1) the political and social stability, ASEAN. (ASEAN Political-Security Community-APSC) 2), the ASEAN Economic Community (AEC-ASEAN Economic Community) and 3) community. (ASEAN-Community Socio-Cultural ASCC), plan framework is defined on each mast (blueprint) by CSR-related initiatives, as shown on a plan of establishing an ASEAN social and cultural community. TrProf. 2552 (2009)-2558 (2015) topic, justice and rights. The C3. promoting responsibility. Social responsibility of business organizations (Promoting Social Corporate Responsibility – CSR) by strategic goal: It promotes social responsibility of businesses included in the business sector that must continue in order to contribute to supporting sustainable development in ASEAN Member States. Well defined measures which may be referenced from a ISO. Above and measures to it Increased awareness in corporate social responsibility issues in ASEAN to sustainable relations between the trade activity and community organizations. Businesses are shown in the plan.
. Thai country. By the Bureau of product standards (tisi) industry as a national standards organization acts as an agent in Thai as a member of the ISO, which after the ISO standard defines the guidelines with ISO 26000, anchor.Have established a technical Committee of experts in all the relevant sectors from 6 sectors 25 organizations participated in these standards, carried out together with organized seminar ISO 26000 continuously. As well as creating knowledge and understanding that is the standard, about need to match. Prior to the official announcement by the organization can be used to perform the social responsibility. The last anchor. Has prepared guidelines for social responsibility (Guidance on Social Responsibility) or TIS? Thai language in 26000 to publish to the Thai operators are aware of the important principles. How to perform The benefits expected to be received, including sectors that are responsible, and points to other interesting observations: ISO 26000 will use the term CSR, the term instead of SR since it can apply to all types of organizations that are interested in corporate social responsibility activities. Whether it's the private sector Government and non profit organisations (Non profit sectors), large. Or even to be used in developing or developed countries, according to the Ministry's industry responds. Defined industrial standard guidelines for social responsibility. The standard number of TIS 26000-2553 (2010) when September 30, 2010 and has, in cooperation with the Institute of Thai joint initiatives horizontal project Pat operations in accordance with social responsibility ISO 26000 in order to strengthen the recognition, in the ISO 26000 and

-4-

.Applying systematically to the establishment in various provinces around the country. Support for open markets and free trade in the ASEAN regional attention to CSR in global level. This project in the year 2555 (2012) All 101 through participating in training and practice The number of 49 items (covering 11 provinces) competency assessment report received in the process of operation. ISO 26000 project number 20 lists (data as of September 2555 (2012))
. In addition, the Department of industry, they have to make a project about a CSR using the named constant development, industrial, corporate social responsibility, participation, or CSR-DIW, which has operated since the year 2551 (2008) till now
. The Department of labour protection and welfare, it is not equally as well. As well as to encourage the Thai labour standards has been applied (marot. 8001-2553 (2010)), which is social responsibility standards, labour standards and was voluntarily brought into action and provide certification (Certification) or declarations presented themselves (Self Declaration) has been carried out on this subject since 1993. 2546 (2003) by focusing on quality of life, labor. Labor management systems, including options to create a business with sustainable development. At present, the Department has a policy to develop the system certification marot.8001-2553 (2010) by letting the private sector involvement in the unit system. Marot. 8001-2553 (2010) by cooperating with the anchor. In the development of certification systems, consistent with international guidelines therefore have agreed to establish cooperation memorandum of understanding (Memorandum of Understanding: MOU) regarding operational cooperation activities to the development of the Thai labour standard certificate. When the Department of transport has begun June 9, 2011 job evaluations and marot.8001-2553 (2010), as well as the private sector, starting this fiscal year, the entire 2555 (2012) The transfer will start operations from medium to large and fiscal year 1993. Every business around 2559 (2016) and of all sizes, in the private sector, which is a unit of the Thai labour standard certificate. Perform evaluations and certifications
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ในเวทีอาเซียนซึ่งมีเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก ได้แก่ ๑) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political- Security Community - APSC) ๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community- AEC) และ ๓) ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community- ASCC) ก็ได้กำหนดกรอบแผนงานในแต่ละเสา (blueprint) โดยมีแผนงานที่เกี่ยวข้องกับ CSR ดังปรากฏในแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๘ หัวข้อความยุติธรรมและสิทธิ ข้อ C3. ส่งเสริมความรับผิดชอบ ต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ (Promoting Corporate Social Responsibility – CSR) โดยกำหนดเป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์: ส่งเสริมให้เรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจรวมไว้ในเรื่องที่ภาคธุรกิจต้องดำเนินการเพื่อให้มีส่วนในการสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนในรัฐสมาชิกอาเซียน รวมทั้งได้กำหนดมาตรการซึ่งอาจอ้างอิงจาก ISO 26000 ข้างต้นและมีมาตรการเรื่อง เพิ่มการตระหนักรับรู้ในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมในอาเซียนเพื่อความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนระหว่างกิจกรรมทางการค้าและชุมชนที่องค์กร ธุรกิจอาศัยอยู่ ปรากฏในแผนงานด้วย
ประเทศไทย โดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) เป็นหน่วยงานด้านการมาตรฐานแห่งชาติ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนประเทศไทยในฐานะที่เป็นสมาชิก ISO ซึ่งหลังจากที่ ISO มีแนวทางที่จะกำหนดมาตรฐาน ISO 26000 ขึ้น สมอ.ได้ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการจาก ผู้ทรงคุณวุฒิในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจาก ๖ ภาคส่วน ๒๕ องค์กร เข้าร่วมดำเนินการกำหนดมาตรฐาน ดังกล่าวร่วมกัน พร้อมทั้งได้จัดให้มีการสัมมนาเรื่อง ISO 26000 อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ตลอดจนสร้างความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเกี่ยวกับมาตรฐานดังกล่าว ก่อนที่จะมีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการ โดยมุ่งหวังให้องค์กรสามารถนำไปใช้ในการดำเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ได้อย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดประโยชน์ในทุกภาคส่วนของสังคม ล่าสุดทาง สมอ. ได้จัดทำแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม (Guidance on Social Responsibility) หรือ มอก. 26000 ในฉบับภาษาไทย เพื่อเผยแพร่ให้แก่ผู้ประกอบการไทยได้รับทราบถึงหลักการสำคัญ วิธีการดำเนินการ ประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับ รวมถึงภาคส่วนที่ต้องรับผิดชอบ และจุดสังเกตที่น่าสนใจอีกอย่างคือ ในแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม ISO 26000 นั้นจะใช้คำว่า SR แทนคำว่า CSR เนื่องจากสามารถนำไปใช้ได้กับองค์กรทุกประเภท ที่มีความสนใจในการดำเนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร (Non profit sectors) ขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็กก็ได้ หรือแม้แต่การนำไปใช้ในประเทศ ที่พัฒนาแล้ว หรือกำลังพัฒนาก็ตาม โดยจัดทำประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม มาตรฐานเลขที่ มอก. ๒๖๐๐๐-๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓ และได้ร่วมกับสถาบันไทยพัฒน์ริเริ่มโครงการแนวร่วมการประกอบกิจการตามมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม ISO 26000 เพื่อเสริมสร้างการรับรู้ในมาตรฐาน ISO 26000 และ

- ๔ -

การนำไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบ ให้แก่สถานประกอบการในจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ รองรับการเปิดตลาดเสรีในระดับภูมิภาคอาเซียน และการค้าที่ให้ความสำคัญกับ CSR ในระดับสากล โครงการนี้ ในปี ๒๕๕๕ มีสถานประกอบการที่สนใจและสมัครเข้าร่วม ทั้งสิ้น ๑๐๑ ราย ผ่านการเข้าร่วมอบรมและนำไปปฏิบัติ จำนวน ๔๙ ราย (ครอบคลุม ๑๑ จังหวัด) ได้รับรายงานผลการประเมินสมรรถภาพในกระบวนการดำเนินงาน เพื่อนำไปสู่การประเมินให้เป็นสถานประกอบการตัวอย่างด้านความรับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 จากโครงการ จำนวน ๒๐ ราย (ข้อมูล ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๕)
นอกจากนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมก็ได้มีการจัดทำโครงการเกี่ยวกับ CSR โดยใช้ชื่อว่า
โครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างมีส่วนร่วม หรือ CSR-DIW ซึ่งได้ดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานก็ไม่น้อยหน้าเช่นกัน ในฐานะหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายแรงงานทั้งในแง่การกำกับดูแลและการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการส่งเสริมให้มีการนำมาตรฐานแรงงานไทย (มรท. ๘๐๐๑-๒๕๕๓) ซึ่งเป็นมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมด้านแรงงานและเป็นมาตรฐานเชิงสมัครใจไปสู่การปฏิบัติและให้การรับรอง (Certification) หรือการประกาศแสดงตนเอง (Self Declaration) ได้มีการดำเนินการเรื่องนี้มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยมุ่งเน้นยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน ระบบการจัดการด้านแรงงาน รวมถึงสริมสร้างให้ธุรกิจมีการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปัจจุบันกรมมีนโยบายพัฒนาระบบการรับรอง มรท.๘๐๐๑-๒๕๕๓ โดยให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการในการเป็นหน่วยรับรองระบบ มรท.๘๐๐๑-๒๕๕๓ โดยประสานความร่วมมือกับ สมอ. ในการพัฒนาระบบการรับรองให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์สากล จึงได้ตกลงร่วมมือกันจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) เรื่อง ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๔ กรมได้เริ่มการโอนถ่ายงานตรวจประเมินและรับรอง มรท.๘๐๐๑-๒๕๕๓ ให้แก่ภาคเอกชน โดยเริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ทั้งนี้ การถ่ายโอนจะเริ่มต้นจากสถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ ไปสู่ขนาดกลาง และปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ สถานประกอบกิจการทุกแห่งและทุกขนาดให้ภาคเอกชนที่เป็นหน่วยรับรองมาตรฐานแรงงานไทย ดำเนินการตรวจประเมินและรับรอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
In the stage of ASEAN, which aims to ASEAN Community in intensive 8 consists of three pillars. 1) ASEAN political-security community. (ASEAN Political - Security Community - APSC) 2) the ASEAN Economic Community (ASEAN Economic Community - AEC) and 3) community.(ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) framework plan in each pole (blueprint) the plan works associated with CSR as shown in the plans for the establishment of ASEAN socio-cultural community. B.Professor Award - intensive 8 topic justice and rights. Article C3. Promote the responsibility to the society of business enterprise (Promoting Corporate Social. Responsibility - CSR) by targeted strategic.:To promote the corporate social responsibility included in the business sector to undertake in order to participate in support of sustainable development in the member states. As well as the measures which may refer to ISO.Above and measures. Add to the sense of social responsibility in ASEAN for the relationship between sustainable ยืนระ trade activities, and community organizations. Business lives appear in plan with
.Thailand (MEPs) is an agency in the national standard. Acting as an agent to Thailand as members ISO after which the ISO approach to set the standard ISO 26000 up Thai Industrial Standards InstituteThe establishment of Academic Committee of Experts in all sectors involved from 6 part 25 organizations joined the standard between these and has provided seminars. ISO 26000 continuously.As well as create knowledge and understanding about the match standard Prior to the promulgation of official. The aim, organization can be used in the implementation of social responsibility.The latest Thai Industrial Standards InstituteCurriculum guidelines for social responsibility (Guidance on Social Responsibility) or standard.26000 in Thai version. To publish to the Thai entrepreneurs were aware of the principle, methods of the benefits expected to receive, including sectors responsible. And the interesting observation is anotherISO 26000 will use the word SR 'instead of' CSR because it can be applied to organizations of all types. Who are interested in the activities of social responsibility, whether it is private, public, and nonprofit organizations (Non profit sectors). Large.Or even used in the country, developed or developing. By setting the notification of the Ministry of industry. Industrial standards for social responsibility standard number of TIS26 Society - 2010, on 30 September 2010 and Institute of expectations initiated the operation according to the standard of social responsibility. ISO 26000 to reinforce the perception in the standard and ISO 26000

- 4 -

.Applied systematically. For enterprises in the province around the country supports open free market level the ASEAN region. The trade and the importance CSR internationally. This project in 2012.All 101 cases through attending the training and practical number alike cases (11, covering the province) has been reported in the process of performance evaluation.ISO 26000 from project of 20 cases (as of September 2012)
.In addition, works fine a project under the name of CSR
project development industrial social responsibility participant. Or the CSR-DIW since the year 2008. Till now!Labour is not face too.As well as promoting the application of labor natural resources.Teacher education 1 - 2010) which is the standard of social responsibility and labor standards is voluntary to practice and certification (Certification). Or announcements show themselves (Self Declaration) have this transaction since 2002.Break with a focus on improving the quality of life of labor management labor. Including the Royal satisfying the business to be sustainable development. At present, Department of policy development of certification system. There.Teacher education 1 - 2010 by the private sector participation action units guarantee system. On lifelong learning education. I - ๒๕๕ 3 by cooperate with Thai Industrial Standards InstituteIn the development of certification system in accordance with the rules of International The agreement provided the memorandum of understanding (Memorandum of Understanding:MOU) on cooperation in the activities for the development of labour standard certification system. When on 9 June 2011 Department began the transfer of pre-assessment and certificate. Is there a.Teacher education 1 - was elected to the private sector, starting from the fiscal year in 2012, the transfer will start from the enterprises in large to medium. And the fiscal year..Intensive 9 workplaces everywhere and all sizes to the private sector as the unit undertakes labour standards). The assessment and certification of
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: