พ่วงเจริญชัย [1] ทำการทดลองการจำลองการถ่ายโอนความร้อนภายในแผงท่อให้ควา การแปล - พ่วงเจริญชัย [1] ทำการทดลองการจำลองการถ่ายโอนความร้อนภายในแผงท่อให้ควา อังกฤษ วิธีการพูด

พ่วงเจริญชัย [1] ทำการทดลองการจำลอง

พ่วงเจริญชัย [1] ทำการทดลองการจำลองการถ่ายโอนความร้อนภายในแผงท่อให้ความร้อนโดยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ เพื่อหาการกระจายอุณหภูมิที่ตำแหน่งต่างๆ ภายในแบบจำลองของแผงท่อให้ความร้อนขนาด 80x282.5x350มิลลิเมตร มีลักษณะของกลุ่มท่อภายในเรียงเป็นแบบแนวเหลื่อมกันขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร มีเงื่อนไขขอบเขตแบบจำลองนั้น กำหนดให้อุณหภูมิที่ทางเข้ามีค่าเท่ากับ 20 องศา , 25 องศา , 30 องศา และ 35 องศา ตามลำดับ ส่วนภายในแบบจำลองกำหนดอุณหภูมิที่ผิวนอกของแผงท่อให้ความร้อนคงที่ไว้ที่ 50 องศา , 60 องศา , 70องศา และ 80องศา ตามลำดับ ส่วนผนังหุ้มฉนวนโดยรอบ (ไม่มีการสูญเสียความร้อน) จากผลการวิจัย พบว่า อุณหภูมิจะมีค่าเพิ่มตามลำดับและมีอัตราการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆอย่างสม่ำเสมอ และเมื่อเวลาผ่านไปค่าของอุณหภูมิภายในของแบบจำลองจะมีค่าคงที่ หลังจากนั้นไม่ว่าจะเพิ่มเวลามากขึ้นเท่าใด ก็ตามค่าของอุณหภูมิที่ตำแหน่งต่างๆ ภายในแบบจำลองจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
มะมิกุล และ คณะ [4] ทำการทดลองการถ่ายเทความร้อนในการไหลผ่านช่องขนานที่มีครีบสามเหลี่ยม การเพิ่มสมรรถนะการถ่ายเทความร้อนในการไหลผ่านช่องขนานที่มีครีบสามเหลี่ยม ที่ที่การถ่ายเทความร้อนคงที่ (constant heat flux) โครงงานนี้พิจารณาเกี่ยวกับสัดส่วนความสูงของครีบต่อระยะห่างความร้อน (e/D) จะมีค่าเท่ากับ 0.125 , 0.187 และ 0.25 การจัดวางแผ่นครีบจะวางตรงและเยื้องกัน และมีระยะพิตต์คงที่เท่ากับ 20 มิลลิเมตร ดังในภาพ 2.1
จากการทดลองพบว่า การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนความสูงครีบสามเหลี่ยมต่อระยะห่างแผ่นช่องขนาน (e/D) มีค่าเท่ากับ 0.125 , 0.187 และ 0.25 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ 1.58 , 2.28 และ 2.32 ที่วางแผ่นครีบในแนวเดียวกัน ส่วนที่วางแผ่นครีบเยื้องกันสามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ 1.62 , 2.25 และ 2.28 ตามลำดับ สรุปผลการทดลองได้ว่า การถ่ายเทความร้อนยิ่งเพิ่มมากขึ้น ค่าความดันตกคร่อมที่เกิดขึ้นก็มีค่าเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน
สกุลหลง และคณะ [5] ทำการทดลองการถ่ายเทความร้อนในการไหลแบบราบเรียบผ่านช่องขนานที่มีครีบวางรูปตัว V ที่มีการถ่ายเทความร้อนแบบคงที่ (Constant Heat Flux) การศึกษาจะพิจารณา ถึงสัดส่วนความสูงของครีบต่อระยะห่างแผ่นความร้อน (e/D) และการจัดรูปแบบแผ่นครีบที่มีผลต่อค่าสัมประสิทธิ์ การถ่ายเทความร้อน (Nusselt Number) และค่าสัมประสิทธิ์ แรงเสียดทาน (Friction factor) โดยมีขอบเขตการศึกษาที่ค่าตัวเลขเรย์โนลด์ (Reynold Number) ตั้งแต่ช่วงระหว่าง 500 – 3000 สัดส่วนความสูงครีบต่อระยะห่างแผ่นช่องขนานความร้อน (e/D) มีค่าเท่ากับ 0.20 , 0.25 ,0.33 การจัดระเบียบแผ่นครีบวางตรงและเยื้องกัน และระยะพิตค์คงที่เท่ากับ 40 มิลลิเมตร ตามภาพที่2.2
จากการทดลองพบว่า การจัดวางครีบสี่เหลี่ยมรูปตัว V ให้การถ่ายเทความร้อนเพิ่มมากขึ้นกว่าการจัดวางครีบแบบขวางตรง (transverse rib) การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนความสูงครีบต่อระยะห่างแผ่น ช่องขนาน(e/D) สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการถ่ายเทความร้อนให้เพิ่มขึ้น แต่ค่าความดันตกคร่อมที่เกิดขึ้นจะมีค่าเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน
หนาแน่น และคณะ [6] ทำการทดลองการศึกษาการถ่ายเทความร้อนในท่อกลมที่มีการถ่ายเทความร้อนให้เพิ่มขึ้น แต่ค่าความดันตกคร่อมที่เกิดขึ้น จะมีค่าเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน
หนาแน่น และคณะ [6] ทำการทดลองการศึกษาการถ่ายเทความร้อนในท่อกลมที่มีการติดตั้งชุดสร้างความปั่นป่วนและการไหลหมุนวน การถ่ายเทความร้อนจากการสอดใส่กรวยวงแหวนสร้างความปั่นป่วนและการไหลหมุนวน การถ่ายเทความร้อนจากการสอดใส่กรวยวงแหวนสร้างความปั่นป่วนร่วมกับแผ่นบิดสร้างการไหลหมุนวนในท่อกลมโดยให้ความร้อนคงตัว ในการทดลองกรวยแหวนจะสอดใส่ตลอดความยาวท่อทดสอบที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่รูทางเข้าและทางออกเท่ากับ 46 มิลลิเมตร (D) ในการทดลองได้สอดใส่แผ่นบิดตลอดความยาวท่อที่ทำมาจากแผ่นเหล็กบาง 1มิลลิเมตร และนำมาบิดที่ระยะพิตช์ 2 ค่า คือ y = (p/w) = 3.75 และ 7.5 ตามลำดับ ใช้อากาศในการไหลและทดสอบในช่วงตัวเลขเรย์โนลด์ (Re) เท่ากับ 6000 -26000 ซึ่งจากการทดลองมีผลทำให้อากาศภายในท่อเกิดความปั่นป่วนและการไหลหมุนวนทำให้ชั้นชิดผิวบางลงและหน่วงการไหลในท่อยาวนานขึ้นจึงทำให้ค่าการถ่ายเทความร้อนในรูปของตัวเลขนัสเซลท์ (Nu) เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับท่อเปล่าประมาณ 2 ถึง 4 เท่า ขณะที่ค่าความเสียดทานสูงขึ้นเช่นเดียวกัน จากการทดลองพบว่าการสอดใส่กรวยวงแหวนร่วมกับแผ่นบิดที่ระยะ บิดแคบสุดที่ y=3.75 จะให่ค่าตัวเลขนัสเซลท์สูงสุดและมากกว่าระยะบิด y= 7.5 โดยเฉลี่ยเท่ากับ 12%
จากงานวิจัยในอดีตที่ผ่านมาส่วนใหญ่มุ่งเน้นการติดตั้งครีบ (Ribs) ลักษณะต่างๆ เพื่อช่วยเพิ่มการถ่ายเทความร้อนของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน แต่สิ่งที่ตามมาคือค่าความเสียดทานที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรให้เกิดขึ้นน้อยที่สุดเนื่องจากเป็นการสิ้นเปลืองกำลังขับของต้นกำลัง ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายและพื้นที่ในการติดตั้งระบบมากขึ้น เพื่อให้ได้อัตราการไหลของของไหลที่ต้องการตามลักษณะของงานนั้นๆ
ดังนั้นโครงงานนี้จึงมุ่งเน้นไปที่เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่นเซาะร่องภายในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเพื่อลดค่าความเสียดทานจากการใช้ครีบ เช่น เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น (Plate Heat Exchanger) แต่ยังคงให้มีความสามารถในการระบายความร้อนได้ดีโดย การศึกษ้าเชิงทดลองระหว่างอลูมิเนียมแผ่นอลูมิเนียมเซาะร่องระยะอื่นๆ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Charoen Chai-trailer [1] try to model heat transfer inside tube heat by Panel methodology elements for a night light distribution, the temperature at the location of the replica of the heat pipe Panel, size 80 x 350 x 282.5 mm. Look inside the tube of a group of vertical overlap diameter 10 mm the model boundary conditions. Given the temperature at the entrance to 20°, 25°, 30° and 35°, respectively. The section within the surface layer of the model determine the temperature heat pipe Panel, fixed at 50°, 60°, 70° and 80°, respectively. The surrounding wall insulated (heat loss) from the results of research, it was found that the temperature is increased, respectively, and had consistently and increasingly, over time, the value of the model's internal temperature will be constant. After that, no matter how much time it will be added to the value of the temperature of different positions within the model will not change. มะมิกุล และ คณะ [4] ทำการทดลองการถ่ายเทความร้อนในการไหลผ่านช่องขนานที่มีครีบสามเหลี่ยม การเพิ่มสมรรถนะการถ่ายเทความร้อนในการไหลผ่านช่องขนานที่มีครีบสามเหลี่ยม ที่ที่การถ่ายเทความร้อนคงที่ (constant heat flux) โครงงานนี้พิจารณาเกี่ยวกับสัดส่วนความสูงของครีบต่อระยะห่างความร้อน (e/D) จะมีค่าเท่ากับ 0.125 , 0.187 และ 0.25 การจัดวางแผ่นครีบจะวางตรงและเยื้องกัน และมีระยะพิตต์คงที่เท่ากับ 20 มิลลิเมตร ดังในภาพ 2.1จากการทดลองพบว่า การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนความสูงครีบสามเหลี่ยมต่อระยะห่างแผ่นช่องขนาน (e/D) มีค่าเท่ากับ 0.125 , 0.187 และ 0.25 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ 1.58 , 2.28 และ 2.32 ที่วางแผ่นครีบในแนวเดียวกัน ส่วนที่วางแผ่นครีบเยื้องกันสามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ 1.62 , 2.25 และ 2.28 ตามลำดับ สรุปผลการทดลองได้ว่า การถ่ายเทความร้อนยิ่งเพิ่มมากขึ้น ค่าความดันตกคร่อมที่เกิดขึ้นก็มีค่าเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน สกุลหลง และคณะ [5] ทำการทดลองการถ่ายเทความร้อนในการไหลแบบราบเรียบผ่านช่องขนานที่มีครีบวางรูปตัว V ที่มีการถ่ายเทความร้อนแบบคงที่ (Constant Heat Flux) การศึกษาจะพิจารณา ถึงสัดส่วนความสูงของครีบต่อระยะห่างแผ่นความร้อน (e/D) และการจัดรูปแบบแผ่นครีบที่มีผลต่อค่าสัมประสิทธิ์ การถ่ายเทความร้อน (Nusselt Number) และค่าสัมประสิทธิ์ แรงเสียดทาน (Friction factor) โดยมีขอบเขตการศึกษาที่ค่าตัวเลขเรย์โนลด์ (Reynold Number) ตั้งแต่ช่วงระหว่าง 500 – 3000 สัดส่วนความสูงครีบต่อระยะห่างแผ่นช่องขนานความร้อน (e/D) มีค่าเท่ากับ 0.20 , 0.25 ,0.33 การจัดระเบียบแผ่นครีบวางตรงและเยื้องกัน และระยะพิตค์คงที่เท่ากับ 40 มิลลิเมตร ตามภาพที่2.2จากการทดลองพบว่า การจัดวางครีบสี่เหลี่ยมรูปตัว V ให้การถ่ายเทความร้อนเพิ่มมากขึ้นกว่าการจัดวางครีบแบบขวางตรง (transverse rib) การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนความสูงครีบต่อระยะห่างแผ่น ช่องขนาน(e/D) สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการถ่ายเทความร้อนให้เพิ่มขึ้น แต่ค่าความดันตกคร่อมที่เกิดขึ้นจะมีค่าเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน หนาแน่น และคณะ [6] ทำการทดลองการศึกษาการถ่ายเทความร้อนในท่อกลมที่มีการถ่ายเทความร้อนให้เพิ่มขึ้น แต่ค่าความดันตกคร่อมที่เกิดขึ้น จะมีค่าเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน หนาแน่น และคณะ [6] ทำการทดลองการศึกษาการถ่ายเทความร้อนในท่อกลมที่มีการติดตั้งชุดสร้างความปั่นป่วนและการไหลหมุนวน การถ่ายเทความร้อนจากการสอดใส่กรวยวงแหวนสร้างความปั่นป่วนและการไหลหมุนวน การถ่ายเทความร้อนจากการสอดใส่กรวยวงแหวนสร้างความปั่นป่วนร่วมกับแผ่นบิดสร้างการไหลหมุนวนในท่อกลมโดยให้ความร้อนคงตัว ในการทดลองกรวยแหวนจะสอดใส่ตลอดความยาวท่อทดสอบที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่รูทางเข้าและทางออกเท่ากับ 46 มิลลิเมตร (D) ในการทดลองได้สอดใส่แผ่นบิดตลอดความยาวท่อที่ทำมาจากแผ่นเหล็กบาง 1มิลลิเมตร และนำมาบิดที่ระยะพิตช์ 2 ค่า คือ y = (p/w) = 3.75 และ 7.5 ตามลำดับ ใช้อากาศในการไหลและทดสอบในช่วงตัวเลขเรย์โนลด์ (Re) เท่ากับ 6000 -26000 ซึ่งจากการทดลองมีผลทำให้อากาศภายในท่อเกิดความปั่นป่วนและการไหลหมุนวนทำให้ชั้นชิดผิวบางลงและหน่วงการไหลในท่อยาวนานขึ้นจึงทำให้ค่าการถ่ายเทความร้อนในรูปของตัวเลขนัสเซลท์ (Nu) เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับท่อเปล่าประมาณ 2 ถึง 4 เท่า ขณะที่ค่าความเสียดทานสูงขึ้นเช่นเดียวกัน จากการทดลองพบว่าการสอดใส่กรวยวงแหวนร่วมกับแผ่นบิดที่ระยะ บิดแคบสุดที่ y=3.75 จะให่ค่าตัวเลขนัสเซลท์สูงสุดและมากกว่าระยะบิด y= 7.5 โดยเฉลี่ยเท่ากับ 12% จากงานวิจัยในอดีตที่ผ่านมาส่วนใหญ่มุ่งเน้นการติดตั้งครีบ (Ribs) ลักษณะต่างๆ เพื่อช่วยเพิ่มการถ่ายเทความร้อนของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน แต่สิ่งที่ตามมาคือค่าความเสียดทานที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรให้เกิดขึ้นน้อยที่สุดเนื่องจากเป็นการสิ้นเปลืองกำลังขับของต้นกำลัง ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายและพื้นที่ในการติดตั้งระบบมากขึ้น เพื่อให้ได้อัตราการไหลของของไหลที่ต้องการตามลักษณะของงานนั้นๆ
ดังนั้นโครงงานนี้จึงมุ่งเน้นไปที่เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่นเซาะร่องภายในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเพื่อลดค่าความเสียดทานจากการใช้ครีบ เช่น เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น (Plate Heat Exchanger) แต่ยังคงให้มีความสามารถในการระบายความร้อนได้ดีโดย การศึกษ้าเชิงทดลองระหว่างอลูมิเนียมแผ่นอลูมิเนียมเซาะร่องระยะอื่นๆ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Brahmans trailers [1] conducted simulations of heat transfer tubes within the panel heating method by Finite Element. To find the temperature distribution at various positions. A replica of the heat pipe panel size. 80x282.5x350 mm. The group of inner tubes arranged in a horizontal overlap diameter 10 mm, the model boundary conditions. The temperature at the inlet is equal to 20 degrees, 25 degrees, 30 degrees and 35 degrees respectively, the model determines the temperature on the surface of the panel casing provides constant heat at 50 degrees, 60 degrees, 70 degrees. 80 degrees respectively insulated by the wall. (No heat loss), the results showed that temperatures will increase the value, respectively, and the rates are rising steadily. And over time, the temperature of the interior of the model is constant. After that, no matter how much more time will be added. However, the temperature at different locations. Internal models are unchanged
Ma Jun Kun et al [4] conducted heat to flow through channels parallel with triangular fins. To optimize heat transfer in a parallel flow channels with triangular fins. The heat transfer constant (constant heat flux), this project considering the ratio of the height of the fins to distance heating (e / D) is equal to 0.125, 0.187 and 0.25 Deployment fins are placed. directly opposite each other Pitt and is still equal to 20 mm in 2.1 images
from the experiment. The increase of the ratio of height triangle fin spacing on a sheet of parallel channels (e / D) is equal to 0.125, 0.187 and 0.25 can optimize 1.58, 2.28 and 2.32 at the plate fin in line. The fins placed opposite each other can optimize 1.62, 2.25 and 2.28 respectively hypothesis that. The heat even more. The pressure drop occurs, they have increased as well,
the currency fell et al [5] The experiment of heat transfer in laminar flow through channels parallel with fins placed V-shaped with heat. Static (Constant Heat Flux) education will be considered. The ratio of fin height to distance plates (e / D) and formatting fins affecting coefficient. Heat transfer (Nusselt Number) and coefficient of friction (Friction factor) The scope of the study, the number Ray Arnold (Reynold Number) range between 500-3000 proportion height fin the distance plate channel. Parallel heat (e / D) is equal to 0.20, 0.25, 0.33, organize and fins placed opposite each other. Pitts and Mike constant equal to 40 mm by 2.2 images
from the experiment. The V-shaped arrangement of rectangular fins to transfer heat more than the placement of the cross fin (transverse rib) an increase in the ratio of fin height to distance plate. Parallel channels (e / D) can be optimized to increase heat transfer. But the pressure drop that occurs, there will be increased as well,
and the density [6] conducted a study of heat transfer in a tubular heat exchanger to increase. But the pressure drop occurred. There is increasing as well,
and the density [6] conducted a study of heat transfer in a circular pipe installation kit creates turbulence and swirling flow. Heat from the implant cone ring creates turbulence and swirling flow. Heat from the implant cone ring created a stir with twisted sheet flow generated by the rotation of the tubular heat stabilizers. In experiments cone ring implant length tube with a diameter of the hole entrance and exit is 46 mm (D) in the experimental implant sheets twisted length pipe made ​​from sheet steel 1 mm and lead. The twist at the second pitch is y = (p / w) = 3.75 and 7.5 respectively in the air flow and test the Ray Reynolds number (Re) 6000 -26 000 of which were from there. The air inside the pipe caused a stir and flow spiral makes up the skin and delay the flow in the pipe longer, so the heat in the form of numbers Nasser Celt (Nu) increase compared to the pipe. is about two to four times as high as the friction. The results showed that the implant cone ring with narrow twisting term sheet twists at y = 3.75 to the maximum number Nasser Celt and more twisted-term average of y = 7.5. 12%
of research in the past focused mostly equipped with fins (Ribs) ways to enhance the heat transfer of heat exchangers. But what followed was the friction that occurs. This is what should happen to a minimum due to the power consumption of power. The cost of installing the system and more. To get the flow rate of fluid required by the nature of such work
, this project is focused on the heat exchanger plate grooving internal heat exchanger to reduce the friction of the fins as air. Plate heat exchangers (Plate Heat Exchanger) but still has the ability to heat well. EDUCATION Experimental between aluminum sheet and aluminum tumbled another term.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Prosperous [] victory Trailer 1 experiment modeling of heat transfer in heat pipe panel by finite element method. To find the temperature distribution at various locations. In the model of the heat pipe panel size 80x282.5x350 mm. With the characteristics of the inner tubes is the sort 10 overlap diameter mm The boundary condition model. The temperature at the entrance of the equals 20 degrees, 25 degrees,
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: