แม่บทบัญชี งบการเงินที่กิจการต่าง ๆ ได้จัดทำขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อไป การแปล - แม่บทบัญชี งบการเงินที่กิจการต่าง ๆ ได้จัดทำขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อไป อังกฤษ วิธีการพูด

แม่บทบัญชี งบการเงินที่กิจการต่าง ๆ

แม่บทบัญชี
งบการเงินที่กิจการต่าง ๆ ได้จัดทำขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้ ดังนั้น การจัดทำงบการเงินจำเป็นต้องมีหลักเกณฑ์และข้อสมมติทางการบัญชีในการจัดทำ เพื่อให้งบการเงินแสดงข้อมูลที่ถูกต้องยุติธรรมต่อผู้ใช้เป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน
แม่บทบัญชี (Accounting Framework) เป็นเกณฑ์ในการจัดทำและนำเสนองบการเงิน ในเรื่องเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ กลุ่มผู้ใช้งบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน องค์ประกอบของงบการเงิน และคำนิยามขององค์ประกอบนั้น รวมถึงเกณฑ์ในการรับรู้รายการในงบดุล งบกำไรขาดทุน การวัดมูลค่ารายการ และแนวคิดเกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนที่ใช้วัดผลกำไรในงบการเงิน โดยมีสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยเป็นผู้ออกใช้ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2542 สำหรับแม่บทบัญชีที่ออกนี้มีวัตถุประสงค์ใช้เป็นเกณฑ์ในการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันและพัฒนามาตรฐานการบัญชีที่จะใช้ในอนาคตให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standard หรือ IAS)
ข้อสมมติ
ข้อสมมติทางการบัญชีประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เกณฑ์คงค้างและการดำเนินงานต่อเนื่อง 1. เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis)
ตามเกณฑ์คงค้าง รายการและเหตุการณ์ทางการบัญชีจะรับรู้เมื่อรายการนั้นเกิดขึ้น โดยไม่คำนึงว่ารายการดังกล่าวมีการรับหรือจ่ายเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดหรือไม่ รายการดังกล่าวจะถูกบันทึกและแสดงในงบการเงินในงวดที่เกี่ยวข้อง เช่น รายการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อและมีลูกหนี้เกิดขึ้น เป็นต้น
2. การดำเนินงานต่อเนื่อง (Going-concern Concept)
งบการเงินของกิจการที่ได้จัดทำขึ้นจะอยู่ภายใต้ข้อสมมติที่ว่า กิจการจะดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและดำรงอยู่ต่อไปในอนาคต ดังนั้น สินทรัพย์ประเภท ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จึงไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อการขายแต่มีไว้เพื่อดำเนินงาน เป็นต้น



ข้อจำกัดของข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและความเชื่อถือได้
1. ความทันต่อเวลา (Timeliness)
ผู้ใช้งบการเงินต้องการข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ดังนั้นข้อมูลที่จะใช้ในการตัดสินใจต้องเป็นข้อมูลที่มีความเชื่อถือได้และทันต่อเวลา ดังนั้น ผู้บริหารต้องพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างประโยชน์ที่จะได้รับจากการรายงานที่ทันต่อเวลากับความเชื่อถือได้ของข้อมูลนั้น ๆ
2. ความสมดุลระหว่างประโยชน์ที่ได้รับกับต้นทุนที่เสียไป (Balance Between Benefit and Cost)
ในการจัดทำงบการเงินกิจการต้องพิจารณาถึงประโยชน์ที่ได้รับจากข้อมูลกับต้นทุนที่เสียไปในการจัดทำ ซึ่งประโยชน์ที่ได้รับควรมีมากกว่าต้นทุนที่เสียไป และภายใต้ข้อจำกัดนี้ ในการจัดทำและนำเสนองบการเงินจึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งบการเงินได้ทุกกรณี
3. ความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพ (Balance in Qualitative Characteristics)
ลักษณะเชิงคุณภาพได้แก่ ความเข้าใจได้ ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ดังนั้นในการจัดทำงบการเงินจงจำเป็นต้องใช้ดุลพินิจในการตัดสินใจเลือกความสมดุลระหว่างลักษณะชิงคุณภาพต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินนำไปประกอบการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจได้อย่างสัมฤทธิผล
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน คือ คุณสมบัติที่ทำให้ข้อมูลในงบการเงินมีประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงิน ซึ่งมีองค์ประกอบหลัก 4 ประการ คือ
1. ความเข้าใจได้ (Understandability)
งบการเงินที่จัดทำขึ้นต้องสามารถเข้าใจได้ทันทีที่ผู้ใช้งบการเงินใช้ข้อมูลจากงบการเงินดังกล่าว ภายใต้ข้อสมมติที่ว่าผู้ใช้งบการเงินมีความรู้ตามสมควรเกี่ยวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ และการบัญชี แม้ว่าข้อมูลทางบัญชีจะยากแก่การทำความเข้าใจ
2. ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance)
ข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจคือ ข้อมูลที่ช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมทั้งยืนยันข้อผิดพลาดของผลการประเมินที่ผ่านมาของผู้ใช้งบการเงินได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างของสินทรัพย์ที่กิจการมีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นผลจากเหตุการณ์ในอดีตจะช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถคาดคะเนถึงความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ดังกล่าวในการดำเนินงานในอนาคต รวมถึงเป็นการยืนยันความถูกต้องของการคาดคะเนในอดีตได้ว่าผลการดำเนินงานของโครงสร้างสินทรัพย์ที่ปรากฏในปัจจุบันเป็นไปตามที่ได้วางแผนไว้ในอดีตหรือไม่
ในการพิจารณาความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของข้อมูลนั้น จะขึ้นอยู่กับลักษณะและความมีนัยสำคัญของข้อมูลนั้นด้วย ซึ่งความมีนัยสำคัญเป็นลักษณะเชิงคุณภาพที่ข้อมูลจะต้องมี

2.1 ความมีนัยสำคัญ (Materiality)
ข้อมูลจะถือว่ามีนัยสำคัญก็ต่อเมื่อไม่แสดงข้อมูลดังกล่าว หรือการแสดงข้อมูลดังกล่าวผิด จะมีผลกระทบต่อผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ โดยความมีนัยสำคัญขึ้นอยู่ขนาดของรายการหรือขนาดของความผิดที่เกิดขึ้นภายใต้สภาพการณ์เฉพาะกรณี ๆ ไป
3. ความเชื่อถือได้ (Reliability)
ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือได้จะต้องปราศจากความผิดพลาดที่มีนัยสำคัญและความลำเอียง จึงจะนับได้ว่าข้อมูลนั้นเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมของข้อมูลที่ต้องการให้แสดงหรือควรแสดง
กรณีที่ข้อมูลอาจมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและทำให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผิดได้หากมีการรับรู้ แต่เนื่องจากข้อมูลนั้นขาดความน่าเชื่อถือ กรณีนี้ไม่ควรรับรู้เหตุการณ์หรือรายการดังกล่าวในงบการเงิน แต่ควรมีการเปิดเผยให้ทราบถึงสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น ประมาณค่าเสียหายจากการฟ้องร้องที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาคดีอาจขาดความน่าเชื่อถือในจำนวนค่าเสียหายและการพิจารณาคดียังไม่สิ้นสุดเป็นที่แน่นอน และไม่สามารถเดาได้อย่างสมเหตุสมผล กิจการไม่ควรรับรู้ผลเสียหายดังกล่าวในงบการเงิน แต่ควรเปิดเผยจำนวนค่าเสียหายที่มีการเรียกร้องและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการฟ้องร้องดังกล่าวด้วย
องค์ประกอบเชิงคุณภาพหลักในเรื่องของความเชื่อถือได้ ประกอบด้วย
3.1 การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Representational Faithfulness)
เพื่อให้ข้อมูลได้เป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมซึ่งจะทำให้ข้อมูลดังกล่าวมีความน่าเชื่อถือ งบดุลจึงควรแสดงสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ เฉพาะรายการหรือเหตุการณ์ทางการบัญชีที่เข้าเกณฑ์การรับรู้รายการ ณ วันที่เสนอรายงาน
3.2 เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ (Su
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Chapter template account. The financial statements have been prepared in various Affairs. With the purpose to make use of the economic decisions of users, therefore, to make the financial statements need to have guidelines and assume financial account in preparation so that the financial statements provide information that is accurate, fair to the user according to the same standards. แม่บทบัญชี (Accounting Framework) เป็นเกณฑ์ในการจัดทำและนำเสนองบการเงิน ในเรื่องเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ กลุ่มผู้ใช้งบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน องค์ประกอบของงบการเงิน และคำนิยามขององค์ประกอบนั้น รวมถึงเกณฑ์ในการรับรู้รายการในงบดุล งบกำไรขาดทุน การวัดมูลค่ารายการ และแนวคิดเกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนที่ใช้วัดผลกำไรในงบการเงิน โดยมีสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยเป็นผู้ออกใช้ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2542 สำหรับแม่บทบัญชีที่ออกนี้มีวัตถุประสงค์ใช้เป็นเกณฑ์ในการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันและพัฒนามาตรฐานการบัญชีที่จะใช้ในอนาคตให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standard หรือ IAS)Fictional text. A fictitious Accounting message consists of two parts is outstanding, and the criteria for continuous operation. 1. accrual basis (Accrual Basis). On the basis of accrual accounting entries and events to get to know when it happens. Regardless of whether the item has been received or paid in cash or cash equivalents? The list will be saved and displayed in the financial statements for the relevant period, such as a list of sold accounts receivable and credit has occurred, etc. 2. continuous operation (the Going-concern Concept). The financial statements of the joint venture is intended to say that the text is subject to the joint-venture will operate continuously, and the existence in the future so that the land, building and equipment assets and therefore is not intended for sale, but is intended to operate, etc. Limitations of the data that is related to the decision and trust. 1. modern times (Timeliness). Users of financial statements need to take economic decisions. Therefore, the information is used in decision making must be a reliability and up time, so managers must consider the comparison between the benefits to be derived from State-of-the-art reporting time to the reliability of the information. 2. the balance between the benefits to the costs (Balance Between Benefit and Cost). In the preparation of financial statements, parties must consider the benefits derived from the information on the cost to the recording, in which the benefits should be greater than the cost of lost and under this restrictions. In the preparation and presentation of financial statements and therefore cannot meet the requirements of the users of the financial statements in all cases. 3. the balance of qualitative characteristics (Balance in Qualitative Characteristics). Qualitative characteristics, namely, an understanding was related to the decision. Therefore, in the preparation of financial statements, you shall need to use discretion in the decision to choose a balance between the various quality characteristics in Qingdao so that financial statements be economic decisions can be fulfilled. Qualitative characteristics of financial statementsQualitative characteristics of financial statements is the property that causes the data in the financial statements is useful to users of financial statements, which have the primary element 4: 1. understanding (Understandability) The financial statements must be prepared as soon as users of financial statements based on these financial statements. Under the deals say that users of financial statements with appropriate knowledge about the business. Economic activities, and although the financial data to make comprehension difficult. 2. relevant decisions (Relevance). ข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจคือ ข้อมูลที่ช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมทั้งยืนยันข้อผิดพลาดของผลการประเมินที่ผ่านมาของผู้ใช้งบการเงินได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างของสินทรัพย์ที่กิจการมีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นผลจากเหตุการณ์ในอดีตจะช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถคาดคะเนถึงความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ดังกล่าวในการดำเนินงานในอนาคต รวมถึงเป็นการยืนยันความถูกต้องของการคาดคะเนในอดีตได้ว่าผลการดำเนินงานของโครงสร้างสินทรัพย์ที่ปรากฏในปัจจุบันเป็นไปตามที่ได้วางแผนไว้ในอดีตหรือไม่ ในการพิจารณาความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของข้อมูลนั้น จะขึ้นอยู่กับลักษณะและความมีนัยสำคัญของข้อมูลนั้นด้วย ซึ่งความมีนัยสำคัญเป็นลักษณะเชิงคุณภาพที่ข้อมูลจะต้องมี 2.1 ความมีนัยสำคัญ (Materiality) ข้อมูลจะถือว่ามีนัยสำคัญก็ต่อเมื่อไม่แสดงข้อมูลดังกล่าว หรือการแสดงข้อมูลดังกล่าวผิด จะมีผลกระทบต่อผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ โดยความมีนัยสำคัญขึ้นอยู่ขนาดของรายการหรือขนาดของความผิดที่เกิดขึ้นภายใต้สภาพการณ์เฉพาะกรณี ๆ ไป 3. ความเชื่อถือได้ (Reliability) ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือได้จะต้องปราศจากความผิดพลาดที่มีนัยสำคัญและความลำเอียง จึงจะนับได้ว่าข้อมูลนั้นเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมของข้อมูลที่ต้องการให้แสดงหรือควรแสดง กรณีที่ข้อมูลอาจมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและทำให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผิดได้หากมีการรับรู้ แต่เนื่องจากข้อมูลนั้นขาดความน่าเชื่อถือ กรณีนี้ไม่ควรรับรู้เหตุการณ์หรือรายการดังกล่าวในงบการเงิน แต่ควรมีการเปิดเผยให้ทราบถึงสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น ประมาณค่าเสียหายจากการฟ้องร้องที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาคดีอาจขาดความน่าเชื่อถือในจำนวนค่าเสียหายและการพิจารณาคดียังไม่สิ้นสุดเป็นที่แน่นอน และไม่สามารถเดาได้อย่างสมเหตุสมผล กิจการไม่ควรรับรู้ผลเสียหายดังกล่าวในงบการเงิน แต่ควรเปิดเผยจำนวนค่าเสียหายที่มีการเรียกร้องและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการฟ้องร้องดังกล่าวด้วย องค์ประกอบเชิงคุณภาพหลักในเรื่องของความเชื่อถือได้ ประกอบด้วย 3.1 การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Representational Faithfulness) เพื่อให้ข้อมูลได้เป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมซึ่งจะทำให้ข้อมูลดังกล่าวมีความน่าเชื่อถือ งบดุลจึงควรแสดงสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ เฉพาะรายการหรือเหตุการณ์ทางการบัญชีที่เข้าเกณฑ์การรับรู้รายการ ณ วันที่เสนอรายงาน 3.2 เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ (Su
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Accounting framework
.Financial affairs at various preparation aims to use in decision making ใจเชิง economy of users. So, preparation of financial statements need to have rules and assumptions of accounting provision.Accounting framework (Accounting Framework) as a criterion in the preparation and presentation of financial statements. About the user group consolidated financial statements, the qualitative characteristics of financial statements, the elements of financial statements and definitions of elements.Income statement measurement items. And the concepts of capital and capital gains treatment measure in financial statements. The association of accountants and auditors of the 25 released on February 2542.(International Accounting Standard or IAS)
.Accounting assumption assumption
consists of 2 parts, namely, the accrual basis and the operation of continuous 1. Accrual basis (Accrual Basis)
.According to hold. Items and events are perceived as accounting items that occur. Regardless of the above items are receiving or paying cash or cash equivalents.Such as items for sale, goods and a credit debtors occur, etc.!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: