การที่รัฐประศาสนศาสตร์เน้นการใช้ทฤษฎีเชิงประจักษ์ก็เพื่อที่จะสร้างองค์ การแปล - การที่รัฐประศาสนศาสตร์เน้นการใช้ทฤษฎีเชิงประจักษ์ก็เพื่อที่จะสร้างองค์ อังกฤษ วิธีการพูด

การที่รัฐประศาสนศาสตร์เน้นการใช้ทฤษ

การที่รัฐประศาสนศาสตร์เน้นการใช้ทฤษฎีเชิงประจักษ์ก็เพื่อที่จะสร้างองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ให้แข็งแกร่ง เนื่องจากรัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้นใหม่ยังขาดการพิจารณาองค์ความรู้อีกมาก แต่การมุ่งพิจารณาความเป็นศาสตร์แต่ประการเดียวจะเป็นเรื่องที่ถูกต้องหรือไม่ เพราะรัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาที่นักบริหารต้องการนำไปใช้งาน ต้องการองค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติ ซึ่งองค์ความรู้ทางวิชาการประการเดียวไม่เพียงพอจะต้องอาศัยค่านิยม ปทัสถาน และประสบการณ์มาช่วยในการตัดสินใจ การกำหนดนโยบายและการทำงาน อาจมีข้อโต้แย้งว่าการที่รัฐประศาสนศาสตร์นำเอาประสบการณ์ ปรัชญา ค่านิยม และปัญญา มาใช้ในการทำงานมากขึ้น ก็ทำให้รัฐประศาสนศาสตร์ห่างไกลความเป็นศาสตร์มากขึ้น เพราะไม่ได้เดินตามแนวทางการสั่งสมความรู้แบบวิทยาศาสตร์ แต่นักรัฐประศาสนศาสตร์ก็อาจตั้งคำถามว่าแล้วรัฐประศาสนศาสตร์จะเป็นศาสตร์ไปทำไม การเป็นศาสตร์ที่แข็งแกร่งแล้วสามารถนำไปใช้ได้หรือไม่ เพราะสิ่งที่รัฐประศาสนศาสตร์ต้องการคือการนำไปใช้ในการปฏิบัติงานบริหารมากกว่าการสร้างทฤษฎีเพื่อนำไปสู่การเป็นศาสตร์บริสุทธิ์ จึงควรเน้นการสร้างทฤษฎีที่นำไปสู่การปฏิบัติโดยเฉพาะการกำหนดนโยบายของภาครัฐและองค์การสาธารณะ เพื่อสร้างคุณค่าและประโยชน์ต่อสังคมอย่างเสมอภาค ยุติธรรม ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นของทุกสังคมเพราะทุกสังคมที่มีความเจริญรุ่งเรืองล้วนแต่เป็นสังคมที่มีการบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพทั้งสิ้น ดังนั้น การส่งเสริมการสร้างทฤษฎีเชิงปทัสถานในรัฐประศาสนศาสตร์ก็จะช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้รัฐประศาสนศาสตร์ในเรื่องค่านิยมและหลักปรัชญาที่จะช่วยนักบริหารในการตัดสินใจ กำหนดนโยบายและสามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบ


นอกจากนี้ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะที่ Frederickson and Smith (2008 : 4) กล่าวว่าเป็นศาสตร์ประยุกต์มากกว่าเป็นศาสตร์บริสุทธิ์ ที่ว่าเป็นศาสตร์ประยุกต์เพราะจะต้องปรับเปลี่ยนเนื้อหาองค์ความรู้ให้สอดคล้องกับสภาวะของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป หลายกรณีที่ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ต้องถูกท้าทายและโต้แย้งเพราะไม่สามารถนำไปใช้ในโลกของความเป็นจริงหรือในทางปฏิบัติได้ การกำเนิดของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New Public Administration) เป็นตัวอย่างกรณีหนึ่งที่เกิดจากการที่ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในสมัยนั้นไม่สามารถตอบสนองต่อการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ในสังคมอเมริกันในขณะนั้นได้ ในขณะที่สังคมอเมริกันกำลังเกิดปัญหามากมาย ปัญหาการต่อต้านการเหยียดผิว ต่อต้านสงครามเวียดนาม และปัญหาอาชญากรรม แต่นักรัฐประศาสนศาสตร์สมัยนั้นก็ยังพร่ำอธิบายถึงทฤษฎีองค์การ การเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงาน ซึ่งไม่สอดคล้องกับปัญหาสังคมในขณะนั้น จึงเกิดการรวมตัวของนักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ที่เสนอแนวทางใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคมมากขึ้น ดังนั้นเพื่อรัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ประยุกต์มีหลายกรณีที่ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เป็นหลักการเชิงปทัสถาน คือเสนอแนวทางว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ


อาจมีข้อโต้แย้งว่าทฤษฎีเชิงประจักษ์จะมีข้อดีที่สามารถพรรณนา อธิบาย และสามารถทำนายได้ จึงเกิดความชัดเจน (Precision) สามารถที่จะทดสอบหรือพิสูจน์ได้ เช่น ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ หรือทฤษฎีทางด้านวิทยาศาสตร์การจัดการซึ่งทำให้เกิดอำนาจในการทำนายซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สำคัญของทฤษฎี แต่สิ่งใดที่ได้ความชัดเจนสามารถลงรายละเอียดได้ก็จะเสียประโยชน์ในการมองภาพรวมหรือกรอบใหญ่ๆ รวมทั้งไม่สามารถศึกษาถึงกระบวนการที่มีความสลับซับซ้อนต่อเนื่องจนทำให้เกิดผลตามมา สิ่งที่ทฤษฎีเชิงประจักษ์ในทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำได้ดีคือสิ่งที่ Frederickson and Smith (2003) กล่าวว่าเป็นการฉายภาพนิ่งทีละภาพ มีรายละเอียดแต่ขาดความต่อเนื่องและมองภาพรวมซึ่งเป็นข้อได้เปรียบของทฤษฎีเชิงปทัสถานซึ่งเน้นการเชื่อมโยงกับการวิจัยเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงปริมาณที่มีความใกล้ชิดกับการวิจัยเชิงประจักษ์ ทั้งนี้เพื่อให้นักบริหารสามารถเข้าใจภาพรวมของระบบบริหารในกรอบใหญ่ได้ รวมทั้งได้เห็นถึงพัฒนาการและกระบวนการในการบริหารหรือกำหนดนโยบายอย่างต่อเนื่องที่มีความสลับซับซ้อนได้อย่างชัดเจน ซึ่งนักบริหารต้องมีความสามารถในการมองภาพรวมและวิเคราะห์ได้ทั้งระบบ โดยทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในระยะหลังได้เอื้อประโยชน์ต่อรัฐประศาสนศาสตร์ในแนวนี้ ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎี Critical Theory, New Public Management, Refounding Public Administration หรือ Postmodernism Theory เป็นต้น


ที่อภิปรายมาดังกล่าวนี้มิได้หมายความว่ารัฐประศาสนศาสตร์ควรสนใจแต่เฉพาะการสร้างทฤษฎีเชิงปทัสถาน แต่หากจะต้องพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ไปพร้อมๆ กันทั้งการพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ที่อาศัยหลักทฤษฎเชิงประจักษ์และอาศัยทฤษฎีเชิงปทัสถานเพราะต่างมีข้อดีและข้อเสียที่ช่วยเสริมซึ่งกันและกัน เป็นการผสมผสานของหลักทางวิชาการกับหลักการปฏิบัติที่นักบริหารงานภาครัฐต้องนำไปใช้โดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปและเป็นการเสริมสร้างองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ตามแนวทางของวิทยาศาสตร์ไปควบคู่กับแนวทางกับแนวทางเสริมสร้างความรู้โดยอาศัยหลักปรัชญาเช่น หลักประชาธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักประสิทธิภาพ อันจะทำให้รัฐประศาสนศาสตร์ มีรากฐานที่มีความมั่นคงที่จะพัฒนาไปสู่ศาสตร์ประยุกต์ที่มีความแข็งแกร่งในอนาคตต่อไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การที่รัฐประศาสนศาสตร์เน้นการใช้ทฤษฎีเชิงประจักษ์ก็เพื่อที่จะสร้างองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ให้แข็งแกร่ง เนื่องจากรัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้นใหม่ยังขาดการพิจารณาองค์ความรู้อีกมาก แต่การมุ่งพิจารณาความเป็นศาสตร์แต่ประการเดียวจะเป็นเรื่องที่ถูกต้องหรือไม่ เพราะรัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาที่นักบริหารต้องการนำไปใช้งาน ต้องการองค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติ ซึ่งองค์ความรู้ทางวิชาการประการเดียวไม่เพียงพอจะต้องอาศัยค่านิยม ปทัสถาน และประสบการณ์มาช่วยในการตัดสินใจ การกำหนดนโยบายและการทำงาน อาจมีข้อโต้แย้งว่าการที่รัฐประศาสนศาสตร์นำเอาประสบการณ์ ปรัชญา ค่านิยม และปัญญา มาใช้ในการทำงานมากขึ้น ก็ทำให้รัฐประศาสนศาสตร์ห่างไกลความเป็นศาสตร์มากขึ้น เพราะไม่ได้เดินตามแนวทางการสั่งสมความรู้แบบวิทยาศาสตร์ แต่นักรัฐประศาสนศาสตร์ก็อาจตั้งคำถามว่าแล้วรัฐประศาสนศาสตร์จะเป็นศาสตร์ไปทำไม การเป็นศาสตร์ที่แข็งแกร่งแล้วสามารถนำไปใช้ได้หรือไม่ เพราะสิ่งที่รัฐประศาสนศาสตร์ต้องการคือการนำไปใช้ในการปฏิบัติงานบริหารมากกว่าการสร้างทฤษฎีเพื่อนำไปสู่การเป็นศาสตร์บริสุทธิ์ จึงควรเน้นการสร้างทฤษฎีที่นำไปสู่การปฏิบัติโดยเฉพาะการกำหนดนโยบายของภาครัฐและองค์การสาธารณะ เพื่อสร้างคุณค่าและประโยชน์ต่อสังคมอย่างเสมอภาค ยุติธรรม ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นของทุกสังคมเพราะทุกสังคมที่มีความเจริญรุ่งเรืองล้วนแต่เป็นสังคมที่มีการบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพทั้งสิ้น ดังนั้น การส่งเสริมการสร้างทฤษฎีเชิงปทัสถานในรัฐประศาสนศาสตร์ก็จะช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้รัฐประศาสนศาสตร์ในเรื่องค่านิยมและหลักปรัชญาที่จะช่วยนักบริหารในการตัดสินใจ กำหนดนโยบายและสามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบนอกจากนี้ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะที่ Frederickson and Smith (2008 : 4) กล่าวว่าเป็นศาสตร์ประยุกต์มากกว่าเป็นศาสตร์บริสุทธิ์ ที่ว่าเป็นศาสตร์ประยุกต์เพราะจะต้องปรับเปลี่ยนเนื้อหาองค์ความรู้ให้สอดคล้องกับสภาวะของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป หลายกรณีที่ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ต้องถูกท้าทายและโต้แย้งเพราะไม่สามารถนำไปใช้ในโลกของความเป็นจริงหรือในทางปฏิบัติได้ การกำเนิดของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New Public Administration) เป็นตัวอย่างกรณีหนึ่งที่เกิดจากการที่ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในสมัยนั้นไม่สามารถตอบสนองต่อการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ในสังคมอเมริกันในขณะนั้นได้ ในขณะที่สังคมอเมริกันกำลังเกิดปัญหามากมาย ปัญหาการต่อต้านการเหยียดผิว ต่อต้านสงครามเวียดนาม และปัญหาอาชญากรรม แต่นักรัฐประศาสนศาสตร์สมัยนั้นก็ยังพร่ำอธิบายถึงทฤษฎีองค์การ การเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงาน ซึ่งไม่สอดคล้องกับปัญหาสังคมในขณะนั้น จึงเกิดการรวมตัวของนักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ที่เสนอแนวทางใหม่ของรัฐประศาสนศาสตร์ที่สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคมมากขึ้น ดังนั้นเพื่อรัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ประยุกต์มีหลายกรณีที่ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เป็นหลักการเชิงปทัสถาน คือเสนอแนวทางว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ

อาจมีข้อโต้แย้งว่าทฤษฎีเชิงประจักษ์จะมีข้อดีที่สามารถพรรณนา อธิบาย และสามารถทำนายได้ จึงเกิดความชัดเจน (Precision) สามารถที่จะทดสอบหรือพิสูจน์ได้ เช่น ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ หรือทฤษฎีทางด้านวิทยาศาสตร์การจัดการซึ่งทำให้เกิดอำนาจในการทำนายซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สำคัญของทฤษฎี แต่สิ่งใดที่ได้ความชัดเจนสามารถลงรายละเอียดได้ก็จะเสียประโยชน์ในการมองภาพรวมหรือกรอบใหญ่ๆ รวมทั้งไม่สามารถศึกษาถึงกระบวนการที่มีความสลับซับซ้อนต่อเนื่องจนทำให้เกิดผลตามมา สิ่งที่ทฤษฎีเชิงประจักษ์ในทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำได้ดีคือสิ่งที่ Frederickson and Smith (2003) กล่าวว่าเป็นการฉายภาพนิ่งทีละภาพ มีรายละเอียดแต่ขาดความต่อเนื่องและมองภาพรวมซึ่งเป็นข้อได้เปรียบของทฤษฎีเชิงปทัสถานซึ่งเน้นการเชื่อมโยงกับการวิจัยเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงปริมาณที่มีความใกล้ชิดกับการวิจัยเชิงประจักษ์ ทั้งนี้เพื่อให้นักบริหารสามารถเข้าใจภาพรวมของระบบบริหารในกรอบใหญ่ได้ รวมทั้งได้เห็นถึงพัฒนาการและกระบวนการในการบริหารหรือกำหนดนโยบายอย่างต่อเนื่องที่มีความสลับซับซ้อนได้อย่างชัดเจน ซึ่งนักบริหารต้องมีความสามารถในการมองภาพรวมและวิเคราะห์ได้ทั้งระบบ โดยทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในระยะหลังได้เอื้อประโยชน์ต่อรัฐประศาสนศาสตร์ในแนวนี้ ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎี Critical Theory, New Public Management, Refounding Public Administration หรือ Postmodernism Theory เป็นต้น


ที่อภิปรายมาดังกล่าวนี้มิได้หมายความว่ารัฐประศาสนศาสตร์ควรสนใจแต่เฉพาะการสร้างทฤษฎีเชิงปทัสถาน แต่หากจะต้องพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ไปพร้อมๆ กันทั้งการพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ที่อาศัยหลักทฤษฎเชิงประจักษ์และอาศัยทฤษฎีเชิงปทัสถานเพราะต่างมีข้อดีและข้อเสียที่ช่วยเสริมซึ่งกันและกัน เป็นการผสมผสานของหลักทางวิชาการกับหลักการปฏิบัติที่นักบริหารงานภาครัฐต้องนำไปใช้โดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปและเป็นการเสริมสร้างองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ตามแนวทางของวิทยาศาสตร์ไปควบคู่กับแนวทางกับแนวทางเสริมสร้างความรู้โดยอาศัยหลักปรัชญาเช่น หลักประชาธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักประสิทธิภาพ อันจะทำให้รัฐประศาสนศาสตร์ มีรากฐานที่มีความมั่นคงที่จะพัฒนาไปสู่ศาสตร์ประยุกต์ที่มีความแข็งแกร่งในอนาคตต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The Administration focused on using empirical theory is to build a strong knowledge in Public Administration. Political science is emerging due to the lack of knowledge more. However, considering the science sole aim is legitimate or not. The Administration is subject to the administration wants to use. To the knowledge in practice. The technical aspects of knowledge alone is not enough to rely on norms, values ​​and experience to assist in decision making. Policy and work There may be an argument that the Administration took the philosophy, values, experience and wisdom used to work. Political science, it makes far more. I do not walk according to the accumulated knowledge of science. But it may be asked, and Public Administration is a science to it. The science is strong and can be used or not. Because the Administration is required to apply in practice than theory building management to lead a pure science. It should also focus on theories put into practice the policy of the government and public organizations. To create value and benefits to society of equality, justice, which is essential to every society because society has flourished all but a society with good management efficiency are therefore promoting the theory norms in public administration it. will help strengthen the public administration in the values ​​and philosophy that will help managers make decisions. Policy and to analyze problems. The system also looks at the Public Administration Theory Frederickson and Smith (2008: 4) says it is more than a science, pure science applications. That the application of science will have to modify the content knowledge in accordance with the changing social conditions. Many cases, the Public Administration Theory must be challenged and contested because it can be applied in the real world or in practice. The advent of the new Public Administration (New Public Administration) is an example of one that is caused by the Public Administration Theory in those not responding to the various theories. In American society at that time. While American society are many problems. The problem of anti-racism Vietnam War And crime issues But those days, it has repeatedly described the Public Administration Theory. To enhance performance Which is inconsistent with the social problems of the time. Therefore, the integration of academics Public Administration proposed a new approach that is consistent with the reality of society. So there are many cases where the application of science in Public Administration Public Administration Theory is the basis of norms. Is that what you propose to do. What should not be an argument that the empirical theory to explain and describe the advantages that can be predicted. It was clear (Precision) can be tested or proved as interpersonal theory. Or the theory of scientific management, which causes the power to predict which is an important feature of the theory. But what is clear, can get into the details, it will be useful to look at the big picture or frame. No one can study the process is complex to cause consequences. What empirical theory of Public Good is what Frederickson and Smith (2003) noted that the slides individually. The details, however, lack of continuity and an overview of the advantages of the theory, which focuses on the normative implications associated with qualitative research, quantitative research, coupled with the proximity to empirical research. This enables administrators to understand overview of the system in the frame. They also realized the development and the process of policy management or continuous complex clearly. The Administrators have the ability to visualize and analyze the whole system. The Theory of Public Administration in the latter's favor in this. Whether it is theoretically Critical Theory, New Public Management, Refounding Public Administration or Postmodernism Theory, etc. that does not mean that such a debate should focus on the creation of public administration theory norms. If you need to develop knowledge in Public Administration along. Well-developed knowledge of the principles of public administration theory and present empirical theory normative implications, because there are advantages and disadvantages to complement each other. A combination of core academic practices of public administration must be applied with regard to the environment. Change and enhancing the knowledge of science-based approach to public administration to support the approach to enhancing the knowledge-based philosophy as well. Democratic Primary Equality Home Performance This will make the Public Have a solid foundation to develop into a strong science applications in the future.








การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The public administration based on empirical theory to build up knowledge in public administration method. Due to political science is the science that the lack of considering the emerging knowledge again.Because of public administration is a subject management need to use. Need for knowledge practices. The academic knowledge and secondly, not enough to rely on the values, norms and experience to help in decision making.May have arguments that public administration brought experience philosophy, values, and wisdom in libraries work more and more. It makes far more of Public Administration ScienceBut the public could question that public administration is a science? A strong science and can be used or not.We should focus on the creation of theory to practice the policy of the government and public organization. To create value and social benefits equally fair.Therefore, promoting the creation theory in public administration norms will help strengthen administration of values and philosophy to help managers in decision making.Systematically
.

the theory of public administration has the characteristic of Frederickson and Smith (2008:4) is said to be applied science rather than a pure science. That is the applied science because it will have to modify the content of knowledge in line with the state of society change.The origins of the New Public Administration (New Public Administration). As an example, one case caused the theories of public administration in those days can not meet the dependants and explain the phenomena. In the American society at that time.The opposition to the racial discrimination against the Vietnam War and crime problems But the public was still left to explain the organization theory. To increase the work efficiency Which does not comply with the social problems at that time.So the public administration is the applied science there are many cases of theory of public administration as the principle and norm. Is proposed that things should be done, what should not do!

.May have arguments that empirical theory has many advantages that can describe, explain, and can predict the clarity (Precision) are able to test or prove. Such as the theory of human relations.But nothing can gain clear detail is useful to look at, or the frame ญ่ๆ overview As well as unable to examine the process of complicated continued to have followed.Frederickson and Smith (2003) said a projected slide frame.In order to managers can understand the overview of administrative system in the large frame. As well as the development and process of administration or policy continuously with the complexity clearly.The theory of public administration in the latter have benefit the public in this genre, and whether the theory, Critical TheoryNew Public Management Refounding Public, Administration or Postmodernism Theory etc.


.The discussion to this does not mean that the public should pay attention only to create highly norm theory. But if I had to develop knowledge in public together.A blend of academic main principle and practical executive government used by considering the environment.Principles of democracy, equality, the main performance, which will make the public administration The foundation of stability to develop to the applied science, has strong strength in the future.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: