ความประสงค์ในการบันทึกเรื่องนี้ก็เพราะว่าอยากให้ผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ไ การแปล - ความประสงค์ในการบันทึกเรื่องนี้ก็เพราะว่าอยากให้ผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ไ อังกฤษ วิธีการพูด

ความประสงค์ในการบันทึกเรื่องนี้ก็เพ

ความประสงค์ในการบันทึกเรื่องนี้ก็เพราะว่าอยากให้ผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ได้รู้ถึงรากเหง้าซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการที่จะทำให้เจริญงอกงามผลิดอกออกผลได้อย่างสมบูรณ์ วัฒนธรรมในการเรียนการสอนของไทยมักจะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับที่มาที่ไป ชอบเรียนรู้จากการต่อยอด ทำให้การเรียนรู้ไม่ลึกซึ้ง การดำเนินชีวิตก็เป็นไปอย่างฉาบฉวย ความรู้ฝังลึก(Tacit Knowledge) ที่มีติดตัวอยู่ในแต่ละบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลเล็กบุคคลน้อย มักจะถูกมองข้าม ถูกมองว่าด้อยค่า ความรู้เหล่านั้นก็จะตายตามตัวไป
จากการที่พระองค์ได้ทรงเน้นเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาประเทศโดยผ่านทางพระราชดำรัส พระบรมราโชวาท ตลอดจนทรงปฏิบัติให้เห็นเป็นตัวอย่างในโครงการส่วนพระองค์ต่าง ๆ แล้ว ที่สุดก็ได้เกิดมีการเห็นความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยในงานสัมมนาวิชาการประจำปี 2542 ของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผลสรุปของการสัมมนาคือมีความเข้าใจตรงกันว่าแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไม่ขัดแย้งกับแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และสามารถใช้ได้กับทุกภาคการพัฒนา ตลอดจนสอดคล้องกับเอกลักษณ์ของสังคมไทย อย่างไรก็ตามยังคงต้องมีการปรับปรุงเพิ่มเติมขยายความโดยคำนึงถึงองค์ประกอบที่สำคัญ อาทิ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ ความสมดุล และความซื่อสัตย์สุจริตเพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผล
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (2545-2549) ได้มีการระดมความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศเพื่อการกำหนดกรอบวิสัยทัศน์และทิศทางของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 9 ปรากฏว่าได้มีวิสัยทัศน์ร่วมกันให้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญานำทางในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและมีวัตถุประสงค์หลักคือ การปรับโครงสร้างการพัฒนาประเทศให้เข้าสู่ดุลยภาพ โดยเปลี่ยนกระบวนการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นการพัฒนาในเชิงปริมาณมาสู่การพัฒนาในเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการสร้างความเป็นธรรมในสังคม และความสามารถก้าวทันโลกที่จะอำนวยประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยมียุทธศาสตร์ในการพัฒนา 3 กลุ่มหลักได้แก่
1. การปฎิรูประบบบริหารจัดการให้เกิดธรรมาภิบาล ในทุกภาคส่วนของสังคม เพื่อขจัดการทุจริตการประพฤติมิชอบ
2. การสร้างฐานรากของสังคมให้เข้มแข็งและรู้เท่าทันโลกโดยมุ่งพัฒนาคนครอบครัว ชุมชนและสังคม เป็นแกนหลัก โดยให้ความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพคน และกระบวนการเรียนรู้ ความเข้มแข็งทางวัฒนธรรมและระบบคุ้มครองทางสังคมในรูปแบบต่างๆ
3. การปรับตัวทางเศรษฐกิจให้เท่าทันโลกและเศรษฐกิจยุคใหม่หรือเศรษฐกิจยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้สามารถแข่งขันและร่วมมือได้บนพื้นฐานการพึ่งตนเอง นี่ก็คือความเป็นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก่อนที่จะกลายมาเป็นกระแสยอดฮิตติดอันดับของสังคมไทยในปัจจุบัน
ความประสงค์ในการบันทึกเรื่องนี้ก็เพราะว่าอยากให้ผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ได้รู้ถึงรากเหง้าซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการที่จะทำให้เจริญงอกงามผลิดอกออกผลได้อย่างสมบูรณ์ วัฒนธรรมในการเรียนการสอนของไทยมักจะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับที่มาที่ไป ชอบเรียนรู้จากการต่อยอด ทำให้การเรียนรู้ไม่ลึกซึ้ง การดำเนินชีวิตก็เป็นไปอย่างฉาบฉวย ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) ที่มีติดตัวอยู่ในแต่ละบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลเล็กบุคคลน้อย มักจะถูกมองข้าม ถูกมองว่าด้อยค่า ความรู้เหล่านั้นก็จะตายตามตัวไป พอมีกระแสขึ้นมาก็แห่แหนกันไปขุด ไปหา เช่น เรื่องของการแพทย์แผนไทย ซึ่งกาลครั้งหนึ่งถูกผู้นำมองว่าโบราณ คร่ำครึ ขัดขวางในการที่จะพัฒนาประเทศให้ศิวิไลซ์ (Civilizations) สมควรให้ถูกขจัดไปจากสังคมไทย เดี๋ยวนี้เป็นอย่างไรบ้างทั่วโลกตื่นตัวการรักษาแบบไม่พึ่งพาเคมี การรักษาแบบการแพทย์ทางเลือก (Alternative Medicines) ได้รับความนิยมจากผู้มีเงินตรา ทำให้คนไทยตื่นตัวไปขุดไปหาแล้วจะได้อะไรในเมื่อศพพูดไม่ได้ น่าเสียดายในสมัยนั้นไม่มี สคส. ไม่เช่นนั้นคงจะหาร่องรอยได้ง่ายกว่านี้ เกษตรอินทรีย์ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่สามารถทำให้ไทยได้เป็นแชมป์โลกอย่างยั่งยืนโดยไม่ต้องลงแข่งโอลิมปิคให้เสียงบประมาณ หากความรู้ทีฝังลึกอยู่ในโคตรเหง้าเหล่าบรรพบุรุษของไทยโลกได้ถูกคุ้ยแคะแกะเกาออกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ถ้าหาก สคส. เกิดเร็วกว่านี้ โรงเรียนชาวนาตั้งขึ้นเร็วกว่านี้ เชื่อได้ว่าสยามประเทศจะเป็นตักศิลาในเรื่องของการกสิกรรมธรรมชาติและเกษตรอินทรีย์ ที่ทั่วโลกต้องมาเรียนรู้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Wish to save this story because he wants to give people interested in this subject have to root, which is important in order to make fruit grow growth results. Teaching and learning culture of Thailand are often hesitant to come to. He likes to learn from to make learning it is not deeply. Life is chapchuai. Depth of knowledge (Tacit Knowledge) that are installed in each person, especially a person, small little person is often overlooked is that impairment. Knowledge of them is death. จากการที่พระองค์ได้ทรงเน้นเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาประเทศโดยผ่านทางพระราชดำรัส พระบรมราโชวาท ตลอดจนทรงปฏิบัติให้เห็นเป็นตัวอย่างในโครงการส่วนพระองค์ต่าง ๆ แล้ว ที่สุดก็ได้เกิดมีการเห็นความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยในงานสัมมนาวิชาการประจำปี 2542 ของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงผลสรุปของการสัมมนาคือมีความเข้าใจตรงกันว่าแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไม่ขัดแย้งกับแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และสามารถใช้ได้กับทุกภาคการพัฒนา ตลอดจนสอดคล้องกับเอกลักษณ์ของสังคมไทย อย่างไรก็ตามยังคงต้องมีการปรับปรุงเพิ่มเติมขยายความโดยคำนึงถึงองค์ประกอบที่สำคัญ อาทิ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ ความสมดุล และความซื่อสัตย์สุจริตเพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผล ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (2545-2549) ได้มีการระดมความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศเพื่อการกำหนดกรอบวิสัยทัศน์และทิศทางของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 9 ปรากฏว่าได้มีวิสัยทัศน์ร่วมกันให้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญานำทางในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและมีวัตถุประสงค์หลักคือ การปรับโครงสร้างการพัฒนาประเทศให้เข้าสู่ดุลยภาพ โดยเปลี่ยนกระบวนการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นการพัฒนาในเชิงปริมาณมาสู่การพัฒนาในเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการสร้างความเป็นธรรมในสังคม และความสามารถก้าวทันโลกที่จะอำนวยประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยมียุทธศาสตร์ในการพัฒนา 3 กลุ่มหลักได้แก่ 1. การปฎิรูประบบบริหารจัดการให้เกิดธรรมาภิบาล ในทุกภาคส่วนของสังคม เพื่อขจัดการทุจริตการประพฤติมิชอบ 2. การสร้างฐานรากของสังคมให้เข้มแข็งและรู้เท่าทันโลกโดยมุ่งพัฒนาคนครอบครัว ชุมชนและสังคม เป็นแกนหลัก โดยให้ความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพคน และกระบวนการเรียนรู้ ความเข้มแข็งทางวัฒนธรรมและระบบคุ้มครองทางสังคมในรูปแบบต่างๆ 3. การปรับตัวทางเศรษฐกิจให้เท่าทันโลกและเศรษฐกิจยุคใหม่หรือเศรษฐกิจยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้สามารถแข่งขันและร่วมมือได้บนพื้นฐานการพึ่งตนเอง นี่ก็คือความเป็นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก่อนที่จะกลายมาเป็นกระแสยอดฮิตติดอันดับของสังคมไทยในปัจจุบัน ความประสงค์ในการบันทึกเรื่องนี้ก็เพราะว่าอยากให้ผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ได้รู้ถึงรากเหง้าซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการที่จะทำให้เจริญงอกงามผลิดอกออกผลได้อย่างสมบูรณ์ วัฒนธรรมในการเรียนการสอนของไทยมักจะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับที่มาที่ไป ชอบเรียนรู้จากการต่อยอด ทำให้การเรียนรู้ไม่ลึกซึ้ง การดำเนินชีวิตก็เป็นไปอย่างฉาบฉวย ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) ที่มีติดตัวอยู่ในแต่ละบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลเล็กบุคคลน้อย มักจะถูกมองข้าม ถูกมองว่าด้อยค่า ความรู้เหล่านั้นก็จะตายตามตัวไป พอมีกระแสขึ้นมาก็แห่แหนกันไปขุด ไปหา เช่น เรื่องของการแพทย์แผนไทย ซึ่งกาลครั้งหนึ่งถูกผู้นำมองว่าโบราณ คร่ำครึ ขัดขวางในการที่จะพัฒนาประเทศให้ศิวิไลซ์ (Civilizations) สมควรให้ถูกขจัดไปจากสังคมไทย เดี๋ยวนี้เป็นอย่างไรบ้างทั่วโลกตื่นตัวการรักษาแบบไม่พึ่งพาเคมี การรักษาแบบการแพทย์ทางเลือก (Alternative Medicines) ได้รับความนิยมจากผู้มีเงินตรา ทำให้คนไทยตื่นตัวไปขุดไปหาแล้วจะได้อะไรในเมื่อศพพูดไม่ได้ น่าเสียดายในสมัยนั้นไม่มี สคส. ไม่เช่นนั้นคงจะหาร่องรอยได้ง่ายกว่านี้ เกษตรอินทรีย์ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่สามารถทำให้ไทยได้เป็นแชมป์โลกอย่างยั่งยืนโดยไม่ต้องลงแข่งโอลิมปิคให้เสียงบประมาณ หากความรู้ทีฝังลึกอยู่ในโคตรเหง้าเหล่าบรรพบุรุษของไทยโลกได้ถูกคุ้ยแคะแกะเกาออกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ถ้าหาก สคส. เกิดเร็วกว่านี้ โรงเรียนชาวนาตั้งขึ้นเร็วกว่านี้ เชื่อได้ว่าสยามประเทศจะเป็นตักศิลาในเรื่องของการกสิกรรมธรรมชาติและเกษตรอินทรีย์ ที่ทั่วโลกต้องมาเรียนรู้
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: