การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ การแปล - การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ อังกฤษ วิธีการพูด

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ดินในท้องถิ่นของเรา ที่สอนโดยใช้วิธีการสอนแบบ PBL โดยการสร้างแผนที่ความคิด ที่ใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาปรับปรุง การสอนแบบ PBL โดยการสร้าง Mind mapping เพื่อนักเรียนจะได้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดิน ที่เพิ่มขึ้น การสอนโดยใช้เทคนิคแบบให้นักเรียนสรุปบทเรียนที่เรียนในแต่ละบทเป็น Mind Mapping เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะด้านการสรุปการอ่านได้ เพราะเป็นการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน และที่สำคัญยิ่ง นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ถูกต้องไปใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้วิจัยดำเนินงานด้วยการสร้างเครื่องมือซึ่งได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ทักษะการแก้ปัญหาในรูปแบบการเรียนการสอนแบบ PBL และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่อง ดินในท้องถิ่นของเรา นำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนบ้านทุ่งขุนน้อยหนองจานวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 16 คน ที่ทำการสุ่มตัวอย่าง เริ่มทำการทดลองโดยทดสอบก่อนเรียน (pre – test) จากนั้นดำเนินการศึกษาทดลอง และทำการทดสอบหลังเรียน (post – test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดิมทันที จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาวิเคราะห์ค่าทางสถิติ เพื่อหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ และนำข้อมูลที่ได้มา สรุปผล อภิปรายผลทางการศึกษาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาต่อไป
ผลการวิจัยปรากฏว่า การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ดินในท้องถิ่นของเรา ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะการแก้ปัญหา ในรูปแบบการเรียนการสอนแบบ PBL จากการทดสอบ 2 ครั้ง พบว่า นักเรียนที่สอนโดยใช้การสอนแบบปกติ มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียน – หลังเรียน เท่ากับ 8.37 และ 8.75 ตามลำดับ ใช้แผนที่ความคิดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ดิน มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียน - หลังเรียน เท่ากับ 6.87 และ 8.37 ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนสูงขึ้นทั้ง การสอนแบบใช้แผนที่ความคิดและสอนแบบปกติ


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
This research aims to study the acheivement strand of science students in grade 2 in our local stories that teach using the methods of PBL teaching pattern. Problem-based learning as a base to develop improved PBL tutorials by creating Mind mapping to students with achievement list of major soil biodiversity increases. Mind Mapping is a method that allows learners to practice skills, reading summaries. Because the participants have learned to share and important. Students can apply the knowledge that is required to use in everyday life. Plan the learning management skills, problem solving and learning in a PBL tutorials and a test measuring achievement strand science subject. Our local soil 2 semester 1 academic year the school ban thung Khun Noi 2557 (2014) Nong Chan of mueang Ubon Ratchathani province. The number of 16 men who made the sample. Start a trial test prior to the study (pre-test) and then perform experimental studies. (Post-test) with the achievement test was set immediately. Then bring the data from achievement analyzed statistical values. To find the average value per cent and derived data summary. The research results it appears that educational acheivement strand science science: grade 2 story in our local has been managing learning by using problem solving skills. PBL from test 2 times found that students taught by using the taught normally. With the average student after a class before 8 –.37 and 8.75, respectively. Use a map an idea there is clay's achievement has an average student with learning-after first 6.87 and 8.37 respectively, which shows that students are progressing in higher learning and tutorials using the normal teaching ideas and map


.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ดินในท้องถิ่นของเรา ที่สอนโดยใช้วิธีการสอนแบบ PBL โดยการสร้างแผนที่ความคิด ที่ใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาปรับปรุง การสอนแบบ PBL โดยการสร้าง Mind mapping เพื่อนักเรียนจะได้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดิน ที่เพิ่มขึ้น การสอนโดยใช้เทคนิคแบบให้นักเรียนสรุปบทเรียนที่เรียนในแต่ละบทเป็น Mind Mapping เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะด้านการสรุปการอ่านได้ เพราะเป็นการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน และที่สำคัญยิ่ง นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ถูกต้องไปใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้วิจัยดำเนินงานด้วยการสร้างเครื่องมือซึ่งได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ทักษะการแก้ปัญหาในรูปแบบการเรียนการสอนแบบ PBL และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่อง ดินในท้องถิ่นของเรา นำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนบ้านทุ่งขุนน้อยหนองจานวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 16 คน ที่ทำการสุ่มตัวอย่าง เริ่มทำการทดลองโดยทดสอบก่อนเรียน (pre – test) จากนั้นดำเนินการศึกษาทดลอง และทำการทดสอบหลังเรียน (post – test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดิมทันที จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาวิเคราะห์ค่าทางสถิติ เพื่อหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ และนำข้อมูลที่ได้มา สรุปผล อภิปรายผลทางการศึกษาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาต่อไป
ผลการวิจัยปรากฏว่า การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ดินในท้องถิ่นของเรา ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะการแก้ปัญหา ในรูปแบบการเรียนการสอนแบบ PBL จากการทดสอบ 2 ครั้ง พบว่า นักเรียนที่สอนโดยใช้การสอนแบบปกติ มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียน – หลังเรียน เท่ากับ 8.37 และ 8.75 ตามลำดับ ใช้แผนที่ความคิดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ดิน มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียน - หลังเรียน เท่ากับ 6.87 และ 8.37 ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนสูงขึ้นทั้ง การสอนแบบใช้แผนที่ความคิดและสอนแบบปกติ


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The purpose of this research is to study the learning achievement of science of grade 2. Our local soil, teaching by using computer PBL.Using problem based learning to improve the instruction PBL by creating Mind mapping เพื่อนั students to achievement of Science On soil increases.Mind Mapping is one way to help learners to practice the skills to summarize reading. Because it is the students learn together and important. Students can take the right knowledge to use in daily life.Lesson plans to use the problem solving skills in learning patterns and วัดผลสัมฤทธิ์ PBL test of learning science. The local land.2 semester academic year 2557 1 school field house finishing less Nong Chan Science District, Ubon Ratchathani province of 16. The sampling. Start the test class pre - Test), then carried out experiments.(post - Test) with the achievement test set immediately. Then the achievement to the data were analyzed to determine the average percentage, and the analyzed results.The results indicated that the study achievement. The learning of science of Science in grade 2 about local soil. Group learning using problem solving skills.PBL from test 2 times found that students taught by conventional method. The average school - after learning of 8.And 37 8.75 respectively. Use concept mapping achievement on soil average before school - after school only with 6.87, and 8.37 respectively, which shows. Students progress in higher learning. Use concept mapping teaching model and the conventional


.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: