วิวัฒนาการของการแลกเปลี่ยนสินค้า ในปัจจุบันนี้ถือได้ว่ามี 3 ระยะนั่นคื การแปล - วิวัฒนาการของการแลกเปลี่ยนสินค้า ในปัจจุบันนี้ถือได้ว่ามี 3 ระยะนั่นคื อังกฤษ วิธีการพูด

วิวัฒนาการของการแลกเปลี่ยนสินค้า ใน

วิวัฒนาการของการแลกเปลี่ยนสินค้า ในปัจจุบันนี้ถือได้ว่ามี 3 ระยะนั่นคือ การแลกเปลี่ยนสินค้าโดยตรง (Barter System) คือ การนำเอาผลผลิตมาแลกเปลี่ยนกันโดยตรง เช่น นำไข่ไปแลกกับข้าวสาร เป็นต้น แต่ระบบนี้มีปัญหาตรงที่ควรจะแลกขนาดไหน เช่น ถ้าข้าวสารจำนวนเท่านี้ ควรจะแลกไข่ได้เท่าใด จึงเกิด การแลกเปลี่ยนสินค้าโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง (Money System) คือ การใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้านั่นเอง เช่น เงิน 20 บาท สามารถซื้อสมุดได้ 1 เล่ม เป็นต้น ต่อมาเมื่อมีการซื้อขายสินค้าเป็นจำนวนมาก หรือผู้ซื้อยังมีเงินไม่เพียงพอต่อการแลกเปลี่ยนขณะนั้น จึงมีการแลกเปลี่ยนซึ่งต้องใช้ความไว้วางใจต่อกันและกัน นั่นคือ การแลกเปลี่ยนสินค้าโดยใช้สินเชื่อหรือเครดิต (Credit System) เช่น การเช่าซื้อ(ผ่อนส่ง) การใช้เช็ค บัตรเครดิต เป็นต้น ทั้งสองอย่างหลังถือเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าทางอ้อม สุดท้ายในการค้าสมัยใหม่นี้จึงเกิดการแลกเปลี่ยนที่เรียกว่า การค้าแบบหักบัญชี (Account Trade) ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าโดยการผสมผสานการแลกเปลี่ยนสินค้าทั้งสามแบบเข้าด้วยกัน
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเหรียญกษาปณ์ เกิดขึ้น ในวิวัฒนาการระยะที่สองคือ การแลกเปลี่ยนสินค้าโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง (Money System) นั่นเอง
วิวัฒนาการเหรียญกษาปณ์ไทย
ในช่วงแรกของการแลกเปลี่ยนสินค้าโดยใช้เงินเป็นสื่อกลางนั้น ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ในสมัยอาณาจักรฟูนัน และสืบต่อมาในสมัยอาณาจักรทวารวดี และศรีวิชัย แต่ละยุคสมัยมีการปรับเปลี่ยนกันขึ้นมามีอำนาจ และมีการทำเงินตรารูปแบบต่าง ๆ ขึ้นมาใช้ในยุคของตน
จวบจนถึงสมัยอาณาจักรสุโขทัยต่างก็ยังไม่ได้ใช้เหรียญกษาปณ์ หากแต่ยังใช้สิ่งของอย่างอื่นในการแลกเปลี่ยน ซึ่งหาได้ หรือทำได้ง่ายๆ เช่น เงินพดด้วง(เงินคดด้วง หรือเงินกลม) ดัดแปลงมาจากเงินขอม(เงินแท่ง) และมอญ(เงินเหรียญ) หอยเบี้ย นอกเหนือจากนั้น ยังมีการใช้เงินตราแลกเปลี่ยนกันภายนอกประเทศ หรือมีอิทธิพลจากต่างชาติอีกด้วย เช่น เงินลานนา-เงินอานม้า เป็นเงินจีนนิยมใช้กันแถบยูนาน และใช้กันลงมาถึงภาคเหนือของไทย ใช้เงินพดด้วงจนถึงสมัยรัชกาลที่ 3 กรุงรัตนโกสินทร์
และสุดท้ายหลังจากรัชกาลที่ 4 จึงใช้เริ่มใช้เหรียญกษาปณ์นั่นเอง

ฟูนัน
-สมัยอาณาจักรฟูนันหรือพนม เงินตราสมัยอาณาจักรฟูนันหรือพนม ใช้ในบริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทยคลุมตลอดไปจนถึงทางตอนใต้ลุ่มแม่น้ำโขง มีการใช้เหรียญเงินรูปอาทิตย์อุทัยแบบเดียวเป็นเงินตราที่สำคัญ 3 ขนาด ในประเทศไทยมีการขุดพบเหรียญเงินฟูนันที่จังหวัดปราจีนบุรี ชลบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี และลพบุรี เป็นจำนวนมาก และพบตลอดลงไปจนถึงในภาคใต้ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่เป็นชนิดทำด้วยดีบุก ด้วยการหล่อจากแม่พิมพ์ เงินตราฟูนันมีลักษณะเป็นเหรียญเงินกลมแบนมี 3 ขนาด ด้านหนึ่งภายในวงกลมชั้นในเป็นรูปอาทิตย์อุทัยครึ่งดวงแผ่รัศมีโดยรอบ คั่นด้วยจุดไข่ปลา ส่วนวงกลมชั้นนอกประดับด้วยจุดไข่ปลาโดยรอบเช่นกัน อีกด้านหนึ่งเป็นสัญลักษณ์ศรีวัตสะ(รูปสัญลักษณ์มงคลเกี่ยวกับคติความเชื่อในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู) ด้านบนเป็นพระอาทิตย์และพระจันทร์ มีสวัสดิกะและภัทรบิฐ(แท่นสําหรับเทพบดี หรือพระราชาประทับ)ขนาบที่ด้านข้าง ด้านล่างสุดเป็นจุดกลม 3 จุด

ทวารวดี
-สมัยอาณาจักรทวารวดี เงินตราสมัยอาณาจักรทวารวดีซึ่งใช้ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนกลาง บริเวณจังหวัดนครปฐม ใช้เหรียญเงินเป็นเงินตราสำคัญ มีอยู่หลายขนาดและรูปแบบที่แสดงถึงการนับถือพระพุทธศาสนา มีการใช้เหรียญทองคำเช่นกัน ระบบการผลิตเหรียญเงินยังคงเป็นระบบการตอกตรา จึงทำให้เหรียญมีลักษณะโค้งแบบก้นกระทะ นอกจากเหรียญที่เป็นเงินตราแล้ว ยังผลิตเหรียญที่มีตัวอักษร ซึ่งเข้าใจว่าเป็นเหรียญที่ระลึกอีกด้วย เงินตราทวารวดีมีลักษณะเป็นเหรียญกลมมีทั้งชนิดเนื้อทองคำและเนื้อเงิน มีหลายรูปแบบและขนาด ส่วนมากประทับตราสังข์ล้อมด้วยจุดไข่ปลา อีกด้านหนึ่งเป็นรูปปราสาท มีวิวัชระอยู่ภายใน ประกอบด้วยแส้และขอช้างที่ด้านข้าง มีพระอาทิตย์ พระจันทร์อยู่ด้านบน มีปลาหรือน้ำอยู่ด้านล่าง มีเหรียญอีกกลุ่มหนึ่งที่มีข้อความเป็นอักษรสันสกฤตโบราณว่า ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ แปลว่าบุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี และบางเหรียญมีข้อความว่า ศรี สุจริตวิกรานต แปลว่าวีรบุรุษผู้สุจริตอยู่ด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นรูปแม่วัวลูกวัว กาลาสะหรือบูรณกลศ ธรรมจักร สังข์ กวาง

ศรีวิชัย2
-สมัยอาณาจักรศรีวิชัย เงินตราสมัยอาณาจักรศรีวิชัย นิยมใช้ในเมือง ได้แก่ เมืองไชยา นครศรีธรรมราช ตลอดลงไปจนถึงเมืองปาเล็มบังในเกาะสุมาตรา มีการค้าทางทะเลเป็นสำคัญ อาณาจักรนี้ใช้เหรียญที่ผลิตจากโลหะทองคำ เงิน และอิเล็กตรัม ประทับตรา ดอกจัน ด้านหน้า อีกด้านหนึ่งมีอักษรสันสกฤตคำว่า วร เรียกว่า เงินดอกจัน มีลักษณะเหมือนเหรียญเงินของชาวลิเดีย อาณาจักรต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังอาณาจักรในยุคแรกที่ผลิตเหรียญขึ้นใช้นั้น แม้ว่าต่างก็มีระบบเงินตราเป็นของตนเองทั้งในแหลมมลายู สุมาตรา และชวา ก็ตาม แต่ก็ยังคงแสดงถึงอิทธิพลการออกแบบที่มาจากอารับ อินเดีย และจีน ซึ่งเดินเรือเข้ามาติดต่อค้าขายด้วย เหรียญเงินกลมมีตราดอกจันรูปสี่เหลี่ยมประทับไว้ด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นอักษรสันสกฤตโบราณคำว่า วร แปลว่า ประเสริฐ เงินตราศรีวิชัยมีทั้งเนื้อเงิน ทอง และอิเล็กตรัมและมี 3 ขนาดเช่นกัน โดยที่ยังไม่พบเงินตราในรูปแบบอื่น จึงเชื่อว่าอาณาจักรแห่งนี้ผลิตเงินตราขึ้นใช้เพียงแบบเดียว

อยุธยา
-สมัยอาณาจักรสุโขทัย ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ช่วงรัชกาลที่ 1-3 ใช้ เงินพดด้วง ซึ่งนับเป็นเงินตราไทยโดยแท้ พดด้วงที่ใช้ในรัชสมัยนี้มีลักษณะเป็นก้อนกลม ทำด้วยโลหะเงิน ปลายขางอเข้าหากันเป็นปลายแหลม มีรูขนาดใหญ่ระหว่างขา มีตราประทับเพื่อแสดงถึงแหล่งผลิตตั้งแต่ 1 ตรา ไปจนถึง 7 ตราส่วนใหญ่ตราที่พบได้แก่ ตราราชสีห์ ช้าง หอยสังข์ ธรรมจักร บัว กระต่าย และราชวัตร นอกจากนี้ ยังพบว่าในสมัยสุโขทัยมีการนำโลหะชนิดอื่นซึ่งไม่ใช่โลหะเงิน เช่น ดีบุก ตะกั่ว สังกะสี มาหลอมให้มีลักษณะคล้ายพดด้วงแต่มีขนาดใหญ่กว่า เรียกแตกต่างกัน เช่น พดด้วงชิน เงินคุบ เงินชุบ หรือเงินคุก รวมทั้งการใช้เบี้ยเป็นเงินปลีกสำหรับแลกเปลี่ยนสินค้าราคาต่ำด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Evolution of commodity exchanges. Currently, there are 3 stages can be considered, that is, the direct exchange of goods (Barter System) is to bring the output comes directly exchanged, such as bringing the eggs to exchange for rice, etc., but this system has problems that should be exchanged if how much rice should be exchanged eggs has caused much. Exchanging an item by using the money as a medium (Money System) is to use money as a medium of Exchange, such as money, I can buy 1 book/20 books, etc. Later, when they are trading a large number of items or the buyer, there is not enough money to continue the Exchange as it is exchanged, which requires the trust to each other, that is, the exchange of goods using credit or credit (Credit System), such as hire purchase (installments) Using credit cards, checks, etc. Both of the latter are considered as indirect Exchange. Finally, in this new era of trade born exchanges, known as clearing trades (Trade Account), which is the exchange of goods by commodity exchanges to blend all three together.It said that the coin Occurred. In the second stage, evolution is the exchange of goods, using money as a medium (Money System) 7.Thai coin evolution In the first part of the exchange of goods, using money as a medium, which began since the Kingdom in the reign of Fu nan and later in the reign of dvaravati and Srivijaya. Each era has been modified so it has power and the various forms of money can be made up for their age.Up until the reign of the Kingdom of Sukhothai, it has not yet been used coin. If this field contains a check mark, yet another example of the Exchange, or simple like photduang money (money man GRUB or silver circle) adapted from money to give (money bars) and Mon (silver medal) Shell, in addition to interest, the money is exchanged outside of the country or another foreign influence, such as silver, silver saddle-the patio is a popular Chinese silver bar u for a long time, and used the rest to northern Thai. Photduang money till the reign of the Rattanakosin 3And finally, after King Rama IV coin started using it themselves. Fu nan-สมัยอาณาจักรฟูนันหรือพนม เงินตราสมัยอาณาจักรฟูนันหรือพนม ใช้ในบริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทยคลุมตลอดไปจนถึงทางตอนใต้ลุ่มแม่น้ำโขง มีการใช้เหรียญเงินรูปอาทิตย์อุทัยแบบเดียวเป็นเงินตราที่สำคัญ 3 ขนาด ในประเทศไทยมีการขุดพบเหรียญเงินฟูนันที่จังหวัดปราจีนบุรี ชลบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี และลพบุรี เป็นจำนวนมาก และพบตลอดลงไปจนถึงในภาคใต้ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่เป็นชนิดทำด้วยดีบุก ด้วยการหล่อจากแม่พิมพ์ เงินตราฟูนันมีลักษณะเป็นเหรียญเงินกลมแบนมี 3 ขนาด ด้านหนึ่งภายในวงกลมชั้นในเป็นรูปอาทิตย์อุทัยครึ่งดวงแผ่รัศมีโดยรอบ คั่นด้วยจุดไข่ปลา ส่วนวงกลมชั้นนอกประดับด้วยจุดไข่ปลาโดยรอบเช่นกัน อีกด้านหนึ่งเป็นสัญลักษณ์ศรีวัตสะ(รูปสัญลักษณ์มงคลเกี่ยวกับคติความเชื่อในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู) ด้านบนเป็นพระอาทิตย์และพระจันทร์ มีสวัสดิกะและภัทรบิฐ(แท่นสําหรับเทพบดี หรือพระราชาประทับ)ขนาบที่ด้านข้าง ด้านล่างสุดเป็นจุดกลม 3 จุดDvaravati-สมัยอาณาจักรทวารวดี เงินตราสมัยอาณาจักรทวารวดีซึ่งใช้ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนกลาง บริเวณจังหวัดนครปฐม ใช้เหรียญเงินเป็นเงินตราสำคัญ มีอยู่หลายขนาดและรูปแบบที่แสดงถึงการนับถือพระพุทธศาสนา มีการใช้เหรียญทองคำเช่นกัน ระบบการผลิตเหรียญเงินยังคงเป็นระบบการตอกตรา จึงทำให้เหรียญมีลักษณะโค้งแบบก้นกระทะ นอกจากเหรียญที่เป็นเงินตราแล้ว ยังผลิตเหรียญที่มีตัวอักษร ซึ่งเข้าใจว่าเป็นเหรียญที่ระลึกอีกด้วย เงินตราทวารวดีมีลักษณะเป็นเหรียญกลมมีทั้งชนิดเนื้อทองคำและเนื้อเงิน มีหลายรูปแบบและขนาด ส่วนมากประทับตราสังข์ล้อมด้วยจุดไข่ปลา อีกด้านหนึ่งเป็นรูปปราสาท มีวิวัชระอยู่ภายใน ประกอบด้วยแส้และขอช้างที่ด้านข้าง มีพระอาทิตย์ พระจันทร์อยู่ด้านบน มีปลาหรือน้ำอยู่ด้านล่าง มีเหรียญอีกกลุ่มหนึ่งที่มีข้อความเป็นอักษรสันสกฤตโบราณว่า ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ แปลว่าบุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี และบางเหรียญมีข้อความว่า ศรี สุจริตวิกรานต แปลว่าวีรบุรุษผู้สุจริตอยู่ด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นรูปแม่วัวลูกวัว กาลาสะหรือบูรณกลศ ธรรมจักร สังข์ กวาง Srivijaya 2-สมัยอาณาจักรศรีวิชัย เงินตราสมัยอาณาจักรศรีวิชัย นิยมใช้ในเมือง ได้แก่ เมืองไชยา นครศรีธรรมราช ตลอดลงไปจนถึงเมืองปาเล็มบังในเกาะสุมาตรา มีการค้าทางทะเลเป็นสำคัญ อาณาจักรนี้ใช้เหรียญที่ผลิตจากโลหะทองคำ เงิน และอิเล็กตรัม ประทับตรา ดอกจัน ด้านหน้า อีกด้านหนึ่งมีอักษรสันสกฤตคำว่า วร เรียกว่า เงินดอกจัน มีลักษณะเหมือนเหรียญเงินของชาวลิเดีย อาณาจักรต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังอาณาจักรในยุคแรกที่ผลิตเหรียญขึ้นใช้นั้น แม้ว่าต่างก็มีระบบเงินตราเป็นของตนเองทั้งในแหลมมลายู สุมาตรา และชวา ก็ตาม แต่ก็ยังคงแสดงถึงอิทธิพลการออกแบบที่มาจากอารับ อินเดีย และจีน ซึ่งเดินเรือเข้ามาติดต่อค้าขายด้วย เหรียญเงินกลมมีตราดอกจันรูปสี่เหลี่ยมประทับไว้ด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นอักษรสันสกฤตโบราณคำว่า วร แปลว่า ประเสริฐ เงินตราศรีวิชัยมีทั้งเนื้อเงิน ทอง และอิเล็กตรัมและมี 3 ขนาดเช่นกัน โดยที่ยังไม่พบเงินตราในรูปแบบอื่น จึงเชื่อว่าอาณาจักรแห่งนี้ผลิตเงินตราขึ้นใช้เพียงแบบเดียว Ayutthaya.-สมัยอาณาจักรสุโขทัย ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ช่วงรัชกาลที่ 1-3 ใช้ เงินพดด้วง ซึ่งนับเป็นเงินตราไทยโดยแท้ พดด้วงที่ใช้ในรัชสมัยนี้มีลักษณะเป็นก้อนกลม ทำด้วยโลหะเงิน ปลายขางอเข้าหากันเป็นปลายแหลม มีรูขนาดใหญ่ระหว่างขา มีตราประทับเพื่อแสดงถึงแหล่งผลิตตั้งแต่ 1 ตรา ไปจนถึง 7 ตราส่วนใหญ่ตราที่พบได้แก่ ตราราชสีห์ ช้าง หอยสังข์ ธรรมจักร บัว กระต่าย และราชวัตร นอกจากนี้ ยังพบว่าในสมัยสุโขทัยมีการนำโลหะชนิดอื่นซึ่งไม่ใช่โลหะเงิน เช่น ดีบุก ตะกั่ว สังกะสี มาหลอมให้มีลักษณะคล้ายพดด้วงแต่มีขนาดใหญ่กว่า เรียกแตกต่างกัน เช่น พดด้วงชิน เงินคุบ เงินชุบ หรือเงินคุก รวมทั้งการใช้เบี้ยเป็นเงินปลีกสำหรับแลกเปลี่ยนสินค้าราคาต่ำด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วิวัฒนาการของการแลกเปลี่ยนสินค้า ในปัจจุบันนี้ถือได้ว่ามี 3 ระยะนั่นคือ การแลกเปลี่ยนสินค้าโดยตรง (Barter System) คือ การนำเอาผลผลิตมาแลกเปลี่ยนกันโดยตรง เช่น นำไข่ไปแลกกับข้าวสาร เป็นต้น แต่ระบบนี้มีปัญหาตรงที่ควรจะแลกขนาดไหน เช่น ถ้าข้าวสารจำนวนเท่านี้ ควรจะแลกไข่ได้เท่าใด จึงเกิด การแลกเปลี่ยนสินค้าโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง (Money System) คือ การใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้านั่นเอง เช่น เงิน 20 บาท สามารถซื้อสมุดได้ 1 เล่ม เป็นต้น ต่อมาเมื่อมีการซื้อขายสินค้าเป็นจำนวนมาก หรือผู้ซื้อยังมีเงินไม่เพียงพอต่อการแลกเปลี่ยนขณะนั้น จึงมีการแลกเปลี่ยนซึ่งต้องใช้ความไว้วางใจต่อกันและกัน นั่นคือ การแลกเปลี่ยนสินค้าโดยใช้สินเชื่อหรือเครดิต (Credit System) เช่น การเช่าซื้อ(ผ่อนส่ง) การใช้เช็ค บัตรเครดิต เป็นต้น ทั้งสองอย่างหลังถือเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าทางอ้อม สุดท้ายในการค้าสมัยใหม่นี้จึงเกิดการแลกเปลี่ยนที่เรียกว่า การค้าแบบหักบัญชี (Account Trade) ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าโดยการผสมผสานการแลกเปลี่ยนสินค้าทั้งสามแบบเข้าด้วยกัน
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเหรียญกษาปณ์ เกิดขึ้น ในวิวัฒนาการระยะที่สองคือ การแลกเปลี่ยนสินค้าโดยใช้เงินเป็นสื่อกลาง (Money System) นั่นเอง
วิวัฒนาการเหรียญกษาปณ์ไทย
ในช่วงแรกของการแลกเปลี่ยนสินค้าโดยใช้เงินเป็นสื่อกลางนั้น ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ในสมัยอาณาจักรฟูนัน และสืบต่อมาในสมัยอาณาจักรทวารวดี และศรีวิชัย แต่ละยุคสมัยมีการปรับเปลี่ยนกันขึ้นมามีอำนาจ และมีการทำเงินตรารูปแบบต่าง ๆ ขึ้นมาใช้ในยุคของตน
จวบจนถึงสมัยอาณาจักรสุโขทัยต่างก็ยังไม่ได้ใช้เหรียญกษาปณ์ หากแต่ยังใช้สิ่งของอย่างอื่นในการแลกเปลี่ยน ซึ่งหาได้ หรือทำได้ง่ายๆ เช่น เงินพดด้วง(เงินคดด้วง หรือเงินกลม) ดัดแปลงมาจากเงินขอม(เงินแท่ง) และมอญ(เงินเหรียญ) หอยเบี้ย นอกเหนือจากนั้น ยังมีการใช้เงินตราแลกเปลี่ยนกันภายนอกประเทศ หรือมีอิทธิพลจากต่างชาติอีกด้วย เช่น เงินลานนา-เงินอานม้า เป็นเงินจีนนิยมใช้กันแถบยูนาน และใช้กันลงมาถึงภาคเหนือของไทย ใช้เงินพดด้วงจนถึงสมัยรัชกาลที่ 3 กรุงรัตนโกสินทร์
และสุดท้ายหลังจากรัชกาลที่ 4 จึงใช้เริ่มใช้เหรียญกษาปณ์นั่นเอง

ฟูนัน
-สมัยอาณาจักรฟูนันหรือพนม เงินตราสมัยอาณาจักรฟูนันหรือพนม ใช้ในบริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทยคลุมตลอดไปจนถึงทางตอนใต้ลุ่มแม่น้ำโขง มีการใช้เหรียญเงินรูปอาทิตย์อุทัยแบบเดียวเป็นเงินตราที่สำคัญ 3 ขนาด ในประเทศไทยมีการขุดพบเหรียญเงินฟูนันที่จังหวัดปราจีนบุรี ชลบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี และลพบุรี เป็นจำนวนมาก และพบตลอดลงไปจนถึงในภาคใต้ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่เป็นชนิดทำด้วยดีบุก ด้วยการหล่อจากแม่พิมพ์ เงินตราฟูนันมีลักษณะเป็นเหรียญเงินกลมแบนมี 3 ขนาด ด้านหนึ่งภายในวงกลมชั้นในเป็นรูปอาทิตย์อุทัยครึ่งดวงแผ่รัศมีโดยรอบ คั่นด้วยจุดไข่ปลา ส่วนวงกลมชั้นนอกประดับด้วยจุดไข่ปลาโดยรอบเช่นกัน อีกด้านหนึ่งเป็นสัญลักษณ์ศรีวัตสะ(รูปสัญลักษณ์มงคลเกี่ยวกับคติความเชื่อในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู) ด้านบนเป็นพระอาทิตย์และพระจันทร์ มีสวัสดิกะและภัทรบิฐ(แท่นสําหรับเทพบดี หรือพระราชาประทับ)ขนาบที่ด้านข้าง ด้านล่างสุดเป็นจุดกลม 3 จุด

ทวารวดี
-สมัยอาณาจักรทวารวดี เงินตราสมัยอาณาจักรทวารวดีซึ่งใช้ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนกลาง บริเวณจังหวัดนครปฐม ใช้เหรียญเงินเป็นเงินตราสำคัญ มีอยู่หลายขนาดและรูปแบบที่แสดงถึงการนับถือพระพุทธศาสนา มีการใช้เหรียญทองคำเช่นกัน ระบบการผลิตเหรียญเงินยังคงเป็นระบบการตอกตรา จึงทำให้เหรียญมีลักษณะโค้งแบบก้นกระทะ นอกจากเหรียญที่เป็นเงินตราแล้ว ยังผลิตเหรียญที่มีตัวอักษร ซึ่งเข้าใจว่าเป็นเหรียญที่ระลึกอีกด้วย เงินตราทวารวดีมีลักษณะเป็นเหรียญกลมมีทั้งชนิดเนื้อทองคำและเนื้อเงิน มีหลายรูปแบบและขนาด ส่วนมากประทับตราสังข์ล้อมด้วยจุดไข่ปลา อีกด้านหนึ่งเป็นรูปปราสาท มีวิวัชระอยู่ภายใน ประกอบด้วยแส้และขอช้างที่ด้านข้าง มีพระอาทิตย์ พระจันทร์อยู่ด้านบน มีปลาหรือน้ำอยู่ด้านล่าง มีเหรียญอีกกลุ่มหนึ่งที่มีข้อความเป็นอักษรสันสกฤตโบราณว่า ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ แปลว่าบุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี และบางเหรียญมีข้อความว่า ศรี สุจริตวิกรานต แปลว่าวีรบุรุษผู้สุจริตอยู่ด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นรูปแม่วัวลูกวัว กาลาสะหรือบูรณกลศ ธรรมจักร สังข์ กวาง

ศรีวิชัย2
-สมัยอาณาจักรศรีวิชัย เงินตราสมัยอาณาจักรศรีวิชัย นิยมใช้ในเมือง ได้แก่ เมืองไชยา นครศรีธรรมราช ตลอดลงไปจนถึงเมืองปาเล็มบังในเกาะสุมาตรา มีการค้าทางทะเลเป็นสำคัญ อาณาจักรนี้ใช้เหรียญที่ผลิตจากโลหะทองคำ เงิน และอิเล็กตรัม ประทับตรา ดอกจัน ด้านหน้า อีกด้านหนึ่งมีอักษรสันสกฤตคำว่า วร เรียกว่า เงินดอกจัน มีลักษณะเหมือนเหรียญเงินของชาวลิเดีย อาณาจักรต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังอาณาจักรในยุคแรกที่ผลิตเหรียญขึ้นใช้นั้น แม้ว่าต่างก็มีระบบเงินตราเป็นของตนเองทั้งในแหลมมลายู สุมาตรา และชวา ก็ตาม แต่ก็ยังคงแสดงถึงอิทธิพลการออกแบบที่มาจากอารับ อินเดีย และจีน ซึ่งเดินเรือเข้ามาติดต่อค้าขายด้วย เหรียญเงินกลมมีตราดอกจันรูปสี่เหลี่ยมประทับไว้ด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นอักษรสันสกฤตโบราณคำว่า วร แปลว่า ประเสริฐ เงินตราศรีวิชัยมีทั้งเนื้อเงิน ทอง และอิเล็กตรัมและมี 3 ขนาดเช่นกัน โดยที่ยังไม่พบเงินตราในรูปแบบอื่น จึงเชื่อว่าอาณาจักรแห่งนี้ผลิตเงินตราขึ้นใช้เพียงแบบเดียว

อยุธยา
-สมัยอาณาจักรสุโขทัย ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ช่วงรัชกาลที่ 1-3 ใช้ เงินพดด้วง ซึ่งนับเป็นเงินตราไทยโดยแท้ พดด้วงที่ใช้ในรัชสมัยนี้มีลักษณะเป็นก้อนกลม ทำด้วยโลหะเงิน ปลายขางอเข้าหากันเป็นปลายแหลม มีรูขนาดใหญ่ระหว่างขา มีตราประทับเพื่อแสดงถึงแหล่งผลิตตั้งแต่ 1 ตรา ไปจนถึง 7 ตราส่วนใหญ่ตราที่พบได้แก่ ตราราชสีห์ ช้าง หอยสังข์ ธรรมจักร บัว กระต่าย และราชวัตร นอกจากนี้ ยังพบว่าในสมัยสุโขทัยมีการนำโลหะชนิดอื่นซึ่งไม่ใช่โลหะเงิน เช่น ดีบุก ตะกั่ว สังกะสี มาหลอมให้มีลักษณะคล้ายพดด้วงแต่มีขนาดใหญ่กว่า เรียกแตกต่างกัน เช่น พดด้วงชิน เงินคุบ เงินชุบ หรือเงินคุก รวมทั้งการใช้เบี้ยเป็นเงินปลีกสำหรับแลกเปลี่ยนสินค้าราคาต่ำด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The evolution of the exchange of products, at this stage that is considered to be 3 The exchange of goods directly (Barter System) is bringing yield exchanged directly, such as the egg ไปแลก rice, etc.For example, if rice this amount should exchange eggs could afford the money as a medium of exchange of goods, (Money System) is used as a medium of exchange of goods. Such as money 20 baht to buy the book has 1 books.And it came to pass, when there are a lot of trading goods The buyer has the money or not sufficient to share the moment. Therefore the exchange which requires trust for each other, that is the exchange of goods by using credit or credit.System), such as leasing (slow) the use of cheques, credit cards, etc., both after a barter indirectly. Finally, in the modern commerce is an exchange called the trade clearing (Account Trade).Therefore, it is said that coins occur in the evolution of the second phase. Barter, using money as a medium (Money System) itself
evolution เหรียญกษาปณ์ไทย
.In the early stage of exchange goods using money as a medium. Which began in the reign of อาณาจักรฟูนัน. And inheriting in the days of Dvaravati and Srivijaya, each period has modified up power.. use in the era of their
.Up until modern Sukhothai Kingdom they haven't used coins But also use other items in exchange, which can or could easily, such as เงินพด beetle (silver or silver round crooked beetle) adapted from Khmer money (Bullion).Cowrie shells. Besides that. There are money exchange outside the country. Or foreign influence, as well as money - money and saddle is used แถบยู Chinese money for a long time. And substituting arrived in northern Thailand.3 Rattanakosin
.And finally, after the reign 4 began to use coins that Funan
.

- when อาณาจักรฟูนัน or salute. The currency of อาณาจักรฟูนัน or salute. Used in the central and eastern Thailand covered throughout the south in the basin. The silver medal the same picture Japan exchange important 3.In the dig found a silver medal Funan Prachin Buri, Chon Buri, Nakhon Pathom, suphan Buri and Lop is numerous and found throughout the down to the southern province. But as a kind of tin with a casting from the mold.3 size, one side within a circle inner the half moon rising sun radiate around, separated by ellipsis. The outer circle and decorated with Sonora around as well.The top is the sun and the moon. Remove the membrane (the altar and there for fault tolerance. Or the king SAT) flanked on the side. The bottom is the point round 3 points
.Dvaravati

.- the Dvaravati period. The currency of Dvaravati, which used in the basin of the Chao Phraya River in central area of Nakhon Pathom province. Using silver as currency matters. There are many different size and style to show respect to Buddhism.Production of silver coins are still hammering exchange system The coins have a curved bottom pan. In addition to the coins as currency. Also produced coins with letters. We understand that a commemorative coins.There are many types and sizes of most of the seal shell surrounded by ellipsis. The other side is a castle. A Vajra inside consists of a whip and hook at the side, the sun, the moon at the top, fish or water below.ศรีทวารวดี isvara. ปุณย. The merit of the king of ศรีทวารวดี and some coins have a message that Sri honestly srivikorn work. The heroes who honestly on the side. On the other hand a cow calf. กาลาส or experience กลศ digraphs.).The deer
.Srivijaya 2

.- when Srivijaya, money from Srivijaya. Used in the city, namely chaiya town Nakhon Si Thammarat down to Palembang in Sumatra. The maritime trade is important. This kingdom coins produced from metal gold.And electrum with asterisks front side has อักษรสันสกฤต "should be called money asterisks. Looks like a silver medal of the Lydia. The Kingdom, occurring after the kingdom in the early to manufacture coins used.Sumatra and Java. "But still show the influence the design coming from nothing, India and China, which sailed into the trade. Silver coin round branded asterisks square sat on one side.Should the gospel, currency, Srivijaya had both flesh silver, gold and electrum and 3 size as well. Without the money in other ways. We believe that this realm produce money up only one
.

, the Ayutthaya
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: