การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ การแปล - การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ อังกฤษ วิธีการพูด

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์จากหลักการทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 2) ประเมินคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 3) พัฒนาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงด้วยวิธีการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-Based Learning : PjBL) 4) เปรียบเทียบคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงด้วยวิธีการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-Based Learning : PjBL)
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็น นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่กำลังศึกษาอยู่ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ของวิทยาลัยเทคนิคกระบี่ จำนวน 10 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากความพร้อมของครู นักศึกษา วิชาที่เปิดสอนและระยะเวลาที่สอน เป็นระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคม-เดือนกุมภาพันธ์ 2556 การวิจัยเชิงทดลองโดยใช้แบบวิเคราะห์เนื้อหา แบบประเมินคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ก่อนและหลังการจัดการเรียนการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้วิชาโครงการ (Project-Based Learning : PjBL) เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการวิจัยพบว่า ระดับคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ก่อนได้รับการพัฒนาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ด้วยวิธีการสอนแบบโครงการ (Project-Based Learning : PjBL) โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.65 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.21 ( = 1.65, S.D. = 0.21) แต่หลังจากได้รับการพัฒนาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ด้วยการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-Based Learning : PjBL) นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงมีระดับคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้นอยู่ในระดับปานกลาง คือ มีค่าเฉลี่ยทางคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์เท่ากับ 3.22 คะแนนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.21 ( = 3.22, S.D. = 0.21)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์จากหลักการทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 2) ประเมินคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 3) พัฒนาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงด้วยวิธีการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-Based Learning : PjBL) 4) เปรียบเทียบคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงด้วยวิธีการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-Based Learning : PjBL)กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็น นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่กำลังศึกษาอยู่ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ของวิทยาลัยเทคนิคกระบี่ จำนวน 10 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากความพร้อมของครู นักศึกษา วิชาที่เปิดสอนและระยะเวลาที่สอน เป็นระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคม-เดือนกุมภาพันธ์ 2556 การวิจัยเชิงทดลองโดยใช้แบบวิเคราะห์เนื้อหา แบบประเมินคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ก่อนและหลังการจัดการเรียนการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้วิชาโครงการ (Project-Based Learning : PjBL) เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า ระดับคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ก่อนได้รับการพัฒนาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ด้วยวิธีการสอนแบบโครงการ (Project-Based Learning : PjBL) โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.65 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.21 ( = 1.65, S.D. = 0.21) แต่หลังจากได้รับการพัฒนาคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ด้วยการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-Based Learning : PjBL) นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงมีระดับคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้นอยู่ในระดับปานกลาง คือ มีค่าเฉลี่ยทางคุณลักษณะความคิดสร้างสรรค์เท่ากับ 3.22 คะแนนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.21 ( = 3.22, S.D. = 0.21)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
This research aims to 1) Identify the creativity of the principles, theories and concepts related to 2) evaluate the creativity of the students of Diploma 3) Develop the creativity of the students at vocational high. how project-based learning. (Project-Based Learning: PjBL) 4) Compare features creative pretest to posttest Diploma Students with Learning Program as a base. (Project-Based Learning: PjBL)
samples used in the research. High School Students The education level Diploma 2nd year 2nd semester of academic year 2556 Sabre 10 years using purposive sampling method chosen by the availability of teachers and students are taught at school. For the period from October - February 2556 experimental research using content analysis. Rating creative features before and after the teaching. And study plans of the project. (Project-Based Learning: PjBL) to develop creativity. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test and analysis, the researchers found. Features the creativity of the student diploma. Before the feature was developed creative ways of teaching. (Project-Based Learning: PjBL) overall at a low level. With an average of 1.65 standard deviation equal to 0.21 (= 1.65, SD = 0.21), but the feature has been developed with creative learning projects as a base. (Project-Based Learning: PjBL) Student Diploma level features that creativity increases were moderate, with the characteristic creativity was 3.22 points of standard deviation equal to 0.21 (= 3.22. SD = 0.21)


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The purpose of this study was to 1) to study the characteristics of the principle of creativity theories and concepts related 2) assess the creativity of diploma students in. 3).(Project-Based Learning:PjBL) 4) feature comparison study with the creativity of students of higher vocational certificate with learning project as the base. (Project-Based Learning: PjBL)
.The sample is. Diploma Studying in the class. Vocational diploma level 2 semester academic year 2556 2 of Krabi Technical College of 10 people.Students in schools and period of teaching. Period of time from October - February 2556 experimental analytical model content. Evaluation of creative features before and after the teaching.(Project-Based Learning:PjBL) to develop creativity. Data statistics, percentage, mean, standard deviation t-test and content analysis

.It was found that The characteristics of creative thinking of students in Higher Vocational Education Before receiving the development features of creative thinking method project (Project-Based Learning:PjBL), particularly at low level. The average 1.65 standard deviation equals 0.21 (=, = 0.21 1.65 S.D.) but after receiving the development features of creative project based learning (Project-Based Learning:PjBL) Diploma students with creative features increased in the medium is the creative feature of 3.22 average score standard deviation equals 0.21. =, 3.22S.D. = 0.21)
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: