Chapter 3How to do research. Sour, salty clay soil studies Researchers have conducted the following research.Academic studies each point.Select a random one of the villages, the village of each district in the district, which has shed all the Lotus 6, but we chose to just 5, is.When Random House or village we will choose to collect samples of soil in that particular village, then go to the village's soil sampling, soil samples are collected from NA. Bring your soil pH value measurement and find sour soil salinity in each village.3.1 population. Most of the population are farmers, each one of the areas the way researchers have collected the soil pH value of the soil analyzed, called soil sour salt.3.2 sampling and sample groups. Sampling and the sampling, this time we chose a random village of each district one village selected randomly by this village are random numbers and the list of names from the agricultural district that includes basic costs we have random all village village from 5, as follows: 3.3 data collection. ลักษณะการเก็บข้อมูลนั้นจะเริ่มจากการไปอบรมเกษตรตามหมู่บ้านและลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลโดยจะไปเก็บตัวอย่างดินตามหมู่บ้านที่ได้กำหนดไว้และนำดินเหล่านั้นมาวิเคราะห์ต่อไป3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลนั้นจะเริ่มจากการทดลองนำดินที่เก็บมาจากพื้นที่ต่างมาตรวจสอบด้วยชุดตรวจสอบดินและเก็บข้อมลูไปเรื่อยๆจนได้ข้อมูลที่เพียงพอก็จะนำมาหารายละเอียดและรวบรวบจนได้ขอมูลที่คงที่3.5 ระยะเวลาการวิจัย วันที่ 21 พฤศจิกายน 2558 ถึง 8 มกราคม 2559วัสดุและอุปกรณ์วัสดุและอุปกรณ์การเก็บดิน1.เสียบ2.กระป๋องพลาสติก3.ถุงพลาสติก4.แผ่นพลาสติกขนาดใหญ่5.ตะแกรงร่อนวัสดุและอุปกรณ์การตรวจดิน1.ถาดหลุมพลาสติก2.แผ่นเหล็ก3.ช้อนตักผง4.ช้อนตักดิน5.น้ำยาเบอร์ 106.แผ่นสีมาตรฐานวิธีดำเนินการวิจัย เตรียมการวิจัยการเก็บตัวอย่างดิน1. หลักการ 1.1 ดินตัวอย่างต้องเป็นตัวแทนที่ถูกต้องของดินในพื้นที่นั้น 1.2 พื้นที่เก็บดินแต่ละตัวอย่าง ควรมีพื้นที่ไม่เกิน 50 ไร่ และดินมีลักษณะเหมือนๆ กัน ถ้าพื้นที่ใหญ่มาก หรือดินไม่สม่ำเสมอ มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ปลูกพืชต่างกันใช้ปุ๋ยต่างกัน มีสีต่างกัน ฯลฯ จะต้องแบ่งพื้นที่ออกเป็นแปลงย่อยและแยกเก็บตัวอย่างดิน 1.3 เวลาที่เก็บดิน จะเก็บเมื่อใดก็ได้ แต่ถ้าปลูกพืชตามฤดูกาล แนะนำให้เก็บก่อนปลูกพืช 1-2 เดือน และควรเก็บตัวอย่างมาวิเคราะห์ 2-3 ปีต่อครั้ง 1.4 ถ้าต้องการคำแนะนำ ควรกรอกข้อมูลต่างๆ ในแบบลงทะเบียนวิเคราะห์ ให้มากที่สุด 1.5 อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างดิน เช่น จอบ เสียม หรือพลั่ว ถุงพลาสติก หรือกระป๋องพลาสติก ผ้าพลาสติก ขนาดประมาณ 1x1 เมตร อุปกรณ์ทุกอย่าง ต้องสะอาด 2. วิธีการเก็บตัวอย่าง 2.1 แบ่งพื้นที่ (กรณีพื้นที่ใหญ่ หรือดินมีความแตกต่างกัน) เมื่อแบ่งแล้วให้หมายเลขแต่ละแปลง หรือทำแผนที่แสดงการแบ่งแปลงเพื่อกันลืม 2.2 เก็บตัวอย่างดิน
1) กรณีที่เป็นพื้นที่ไร่นา หรือพื้นที่ยังไม่มีการ ปลูกพืช ให้เดินสุ่มเก็บตัวอย่างดินให้ทั่วแปลงในแต่ละแปลง แปลงละประมาณ 15 จุด
2) กรณีที่เป็นสวนไม้ผล ให้เก็บดินภายในทรงพุ่มต้นละจุด ประมาณ 15 ต้น ในแต่ละแปลง
การเก็บดินแต่ละจุดให้ใช้พลั่วขุดดินเป็นรูปลิ่มลึกประมาณ 15 ซม. หลังจากนั้นเก็บดิน โดยใช้พลั่วแซะดินข้างหลุม (ด้านเรียบ) ให้ได้ดินเป็นแผ่นหนาประมาณ 2-3 ซม. จนถึงก้นหลุม ดินที่ได้เก็บรวบรวมใส่ถุง หรือถังพลาสติก
2.3 คลุกเคล้าดินแต่ละแปลงที่เก็บมาให้เข้ากันแล้วเทลงบนผ้าพลาสติก ทำการคลุกเคล้าอีกครั้งโดยยกมุมผ้าพลาสติกทีละ 2 มุม ที่อยู่ตรงข้ามกัน ทำสลับมุมกัน 3-4 ครั้ง
หลังจากนั้นกองดินให้เป็นรูปฝาชี แล้วใช้มือตบยอดกองให้แบนราบ หลังจากนั้นใช้นิ้วมือขีดเป็นกากบาด (+) บนยอดกอง ซึ่งจะทำให้ดินถูกแบ่งแยกเป็น 4 ส่วน
เก็บตัวอย่างจากกองดินนี้เพียง 1 ส่วน ให้ได้ดินหนักประมาณครึ่งกิโลกรัม หรือถ้าดินมีหินกรวดปนมาก อาจเก็บมา 1-2 กิโลกรัม ใส่ดินลงในถุงพลาสติกที่เตรียมไว้เพื่อวิเคราะห์
การแปล กรุณารอสักครู่..
