• ยุคสมัยศิลปะไทย•การศึกษาทัศนศิลป์ในประเทศไทยดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้ มี การแปล - • ยุคสมัยศิลปะไทย•การศึกษาทัศนศิลป์ในประเทศไทยดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้ มี อังกฤษ วิธีการพูด

• ยุคสมัยศิลปะไทย•การศึกษาทัศนศิลป์

• ยุคสมัยศิลปะไทย•

การศึกษาทัศนศิลป์ในประเทศไทยดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้ มีเนื้อหาพอสังเขปเพียงเพื่อ ให้รู้ว่าศิลปะในประเทศไทย แต่ละสมัยมีลักษณเด่นะเฉพาะอย่างไร เพื่อนำไปใช้ประกอบการศึกษา ด้านความงาม การวิจารณ์ศิลปะ ต่อไป ซึ่งหากผู้สนใจในรายละเอียด ก็สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ จากวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ วิชาศิลปะนิยม และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

หากจะย้อนกลับมาพิจารณาศิลปกรรมไทยโดยส่วนกว้าง เราก็จะพบว่าศิลปกรรมไทยก็มิได้แตกต่างไปจากศิลปกรรม ของชาติอื่น ๆ ในประเด็นที่มีการคลี่คลายเปลี่ยนแปลงเสมอมา โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นมีทั้งลักษณะค่อยเป็นค่อยไป และมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีทั้งที่เปลี่ยนแปลงเฉพาะรูปแบบหรือประเด็นปลีกย่อย และมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงเนื้อหาสาระชนิดแยกขาดออกจากสิ่งเดิมอย่างชัดเจน ซึ่งในประเด็นหลังนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อโครงสร้างใหญ่ ๆ ของสังคมเปลี่ยนไปนั่นเอง

สำหรับยุคสมัยของศิลปกรรมไทยนั้น นักประวัติศาสตร์ศิลป์ได้แบ่งออกได้ ตามแนวทางใหญ่ ๆ 3 แนวทางคือ

แนวทางที่ 1 แบ่งตามลักษณะของการก่อตั้งราชอาณาจักร หรือศูนย์กลาง อำนาจ ทางการเมืองเป็นเครื่องแบ่ง เช่นอาจแบ่งใหญ่ ๆ ออกได้เป็น 2 สมัย คือ สมัยแรก ก่อนที่ชนชาติไทยเข้าปกครองประเทศ และสมัยหลังที่ชนชาติไทยเข้าปกครอง ประเทศแล้ว สมัยแรกแบ่งออกได้อีกเป็น 5 สมัย คือ สมัยวัตถุรุ่นเก่าที่ค้นพบในประเทศไทย สมัยทวาราวดี สมัยเทวรูปรุ่นเก่าสมัยศรีวิชัย และสมัยลพบุรี สมัยหลังก็แบ่งออกเป็น 5 สมัยเช่นกัน คือ สมัยเชียงแสน สุโขทัย อู่ทอง อยุธยา และ สมัยรัตนโกสินทร์

แนวทางที่ 2 แบ่งตามสกุลศิลปะพระพุทธรูปในประเทศไทย โดยยึดหลัก รูปแบบของการ รับอิทธิพล มาเป็นเครื่องวัดโดยแบ่งเป็นสกุลศิลปไทย–คุปตะ สกุลศิลปไทย-ปาละ สกุลศิลปไทย ปาละ-เสนะ สกุลศิลปไทย-โจฬะ เป็นต้น

แนวทางที่ 3 แบ่งนักประวัติศาสตร์บางท่านก็แบ่งตามแบบอย่างศิลปะ ที่แสดงออกเป็น 8 สมัย คือ สมัยทวาราวดี สมัยศรีวิชัย สมัยลพบุรี สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอู่ทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์

แนวทางการการแบ่งยุคสมัยของศิลปไทยที่กล่าวมา แม้จะมีความแตกต่างกัน แต่ก็ยึดตามเกณฑ์ใหญ่ ๆ ร่วมกัน คือ
1. เกณฑ์ทางศูนย์กลางแห่งความเจริญของอาณาจักร
2. เกณฑ์ทางอิทธิพลทางการปกครองและทางศาสนา
3. เกณฑ์ทางรูปแบบอย่างศิลปกรรมที่แตกต่างกัน
4. เกณฑ์ทางวิวัฒนาการของสังคม

ในบทนี้ จะแบ่งศิลปะในประเทศไทยตามแแนวทางที่ 3 เพราะแนวทางนี้ ทำให้ได้เห็นการพัฒนา แบบอย่าง และแนวทางการสร้างงานตามสังคม และอิทธิพล ที่ได้รับอย่างเด่นชัด ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 สมัย คือ



1. สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 12 - 16)
2. สมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13 - 18)
3. สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16 - 18)
4. สมัยเชียงแสน (พุทธศตวรรษที่ 16 - 23)
5. สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19 - 20)
6. สมัยอู่ทอง (พุทธศตวรรษที่ 17 - 22)
7 . สมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 18 - 23)
8 . สมัยรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 24 - ปัจจุบัน)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
• Thailand • the era of art.The study of the Visual Arts in Thailand as the country discusses the following: There is a brief content just to make knowing that art in the country, Thailand. Each has a particular sonde to steal HES to help study the aesthetic criticism of art, following which, if people are interested in the details, it can be studied further. From the history of art, popular art, and other related subjects.If it will return to Thailand by the arts were considered, we will find that the Thailand arts were not significantly different from the pattern of other Nations on issues that have always been changed to unravel. By that change are both evolving styles and have all that quickly changed. With all the changes only the format, or finer, and issues are both changes the contents separate from the original type explicitly. In which the latter issues will occur only when the major structures of the society changed to celebrities.For the era of fine and applied arts, Thailand then. Art historians have divided major guidelines 3 guidelines is.แนวทางที่ 1 แบ่งตามลักษณะของการก่อตั้งราชอาณาจักร หรือศูนย์กลาง อำนาจ ทางการเมืองเป็นเครื่องแบ่ง เช่นอาจแบ่งใหญ่ ๆ ออกได้เป็น 2 สมัย คือ สมัยแรก ก่อนที่ชนชาติไทยเข้าปกครองประเทศ และสมัยหลังที่ชนชาติไทยเข้าปกครอง ประเทศแล้ว สมัยแรกแบ่งออกได้อีกเป็น 5 สมัย คือ สมัยวัตถุรุ่นเก่าที่ค้นพบในประเทศไทย สมัยทวาราวดี สมัยเทวรูปรุ่นเก่าสมัยศรีวิชัย และสมัยลพบุรี สมัยหลังก็แบ่งออกเป็น 5 สมัยเช่นกัน คือ สมัยเชียงแสน สุโขทัย อู่ทอง อยุธยา และ สมัยรัตนโกสินทร์แนวทางที่ 2 แบ่งตามสกุลศิลปะพระพุทธรูปในประเทศไทย โดยยึดหลัก รูปแบบของการ รับอิทธิพล มาเป็นเครื่องวัดโดยแบ่งเป็นสกุลศิลปไทย–คุปตะ สกุลศิลปไทย-ปาละ สกุลศิลปไทย ปาละ-เสนะ สกุลศิลปไทย-โจฬะ เป็นต้นแนวทางที่ 3 แบ่งนักประวัติศาสตร์บางท่านก็แบ่งตามแบบอย่างศิลปะ ที่แสดงออกเป็น 8 สมัย คือ สมัยทวาราวดี สมัยศรีวิชัย สมัยลพบุรี สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอู่ทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์แนวทางการการแบ่งยุคสมัยของศิลปไทยที่กล่าวมา แม้จะมีความแตกต่างกัน แต่ก็ยึดตามเกณฑ์ใหญ่ ๆ ร่วมกัน คือ 1. เกณฑ์ทางศูนย์กลางแห่งความเจริญของอาณาจักร 2. เกณฑ์ทางอิทธิพลทางการปกครองและทางศาสนา 3. เกณฑ์ทางรูปแบบอย่างศิลปกรรมที่แตกต่างกัน 4. เกณฑ์ทางวิวัฒนาการของสังคมในบทนี้ จะแบ่งศิลปะในประเทศไทยตามแแนวทางที่ 3 เพราะแนวทางนี้ ทำให้ได้เห็นการพัฒนา แบบอย่าง และแนวทางการสร้างงานตามสังคม และอิทธิพล ที่ได้รับอย่างเด่นชัด ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 สมัย คือ 1. สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 12 - 16)2. สมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13 - 18)3. สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16 - 18)4. สมัยเชียงแสน (พุทธศตวรรษที่ 16 - 23)5. สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19 - 20)6. สมัยอู่ทอง (พุทธศตวรรษที่ 17 - 22)7 . สมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 18 - 23)8 . สมัยรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 24 - ปัจจุบัน)
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: