ความเป็นวิทยาศาสตร์ของภาษาศาสตร์  ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ เมื่อยุ การแปล - ความเป็นวิทยาศาสตร์ของภาษาศาสตร์  ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ เมื่อยุ อังกฤษ วิธีการพูด

ความเป็นวิทยาศาสตร์ของภาษาศาสตร์ ใ

ความเป็นวิทยาศาสตร์ของภาษาศาสตร์
ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ เมื่อยุโรปมุ่งแสวงหาอาณานิคมและอินเดียได้ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ การค้นพบงานของปานินีเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษาสันสกฤต ซึ่งล้ำยุคกว่างานศึกษาด้านภาษาในสมัยกรีกและโรมัน ถึงแม้ว่าจะได้เขียนขึ้นในช่วงเวลาที่ไม่ห่างไกลกันมากนัก คือช่วง ๖๐๐ – ๕๐๐ ปีก่อนคริสต์ศักราช แนวคิดของปานินีเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษานี้เองทำให้ผ้ที่ศึกษาภาษาในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ ได้เริ่ม “พิจารณา” การศึกษาภาษาเสียใหม่ โดยเห็นว่าการวิเคราะห์ภาษาไม่ควรมีข้อจำกัดอยู่กับไวยากรณ์เท่านั้น แต่การวิเคราะห์ภาษาควรคำนึงถึง “เสียง” และ “คำพูด” ด้วย นอกจากนี้ยังมีความคิดว่าการบรรยายภาษาควรมีความกระจ่างครอบคลุมเนื้อหา อธิบายได้อย่างมีระบบและมีความประหยัดในการบรรยาย ตลอดจนมีความสม่ำเสมอสอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งเป็นแนวที่ผู้ศึกษาภาษาในยุคนี้ได้มีความเห็นสอดคล้องกันว่า เป็นการศึกษาภาษาตามแนว “วิทยาศาสตร์” และเป็นแนวคิดที่รับอิทธิพลจากการศึกษาของปานินิที่ได้ค้นพบ
ดังนั้นในยุคนี้เองได้มีการรวมกลุ่มของผู้ที่สนใจศึกษาวิเคราะห์ภาษาโดยพยายามให้การศึกษาภาษามีลักษณะเป็น “ศาสตร์” ในตัวเอง ซึ่งเรียกว่า “ภาษาศาสตร์” หรือ “Linguistics” โดยเน้นว่าการศึกษาภาษาศาสตร์ควรมุ่งให้มีหลักการตามแนววิทยาศาสตร์ ดังที่ พิณทิพย์ ทวยเจริญ (๒๕๔๔ : ๕ – ๑๐) ได้ขยายความต่อไปนี้
๑. การบรรยายภาษาควรมีความกระจ่างชัดเจน และครอบคลุมหัวข้อที่ต้องการบรรยาย
การบรรยายเสียงพูดของภาษาใดภาษาหนึ่งจำเป็นต้องมีการถ่ายทอดเสียงพูดนั้นๆ ด้วยสัทอักษร ไม่ควรใช้ตัวเขียนหรือตัวสะกดเพราะตัวเขียนหรืออักษรที่ใช้สะกดนั้น ในบางครั้งเขียนด้วยอักษรเดียวกันแต่ออกเสียงต่างกัน และเมื่อข้อมูลที่ได้มานั้นมีการถ่ายทอดเสียงซึ่งแสดงความกระจ่างในการออกเสียงแล้วจำเป็นต้องบรรยายรายละเอียดที่ค้นพบให้หมด หรือมิฉะนั้นจำเป็นต้องระบุว่าจะบรรยายส่วนใดบ้างของข้อมูล
ทั้งนี้เราจะเห็นได้ว่าเสียงพูดของคนในภาษาหนึ่งๆยังมีหลากหายออกไป เช่น เสียงพูดในภูมิภาคทางเหนืออาจจะแตกต่างจากเสียงพูดของคนทางภาคใต้ ดังนั้นผู้บรรยายจำเป็นต้องตีกรอบให้ตัวเองว่าจะบรรยายเสียงของคนกลุ่มใด และบรรยายการพูดในลีลาเฉพาะแบบใด
อย่างไรก็ตามข้อมูลทางภาษามีลักษณะที่แตกต่างจากข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากภาษาเป็นของคนเท่านั้น และมนุษย์จำเป็นต้องอยู่ในสังคม จึงไม่อาจเก็บรวบรวมข้อมูลได้ภายในห้องทดลอง จำเป็นต้องเก็บรวบรวมในสภาวะธรรมชาติ จึงทำให้ข้อมูลทางภาษามีข้อยกเว้นมากมายหลายลักษณะ ซึ่งผู้ศึกษาภาษาจำต้องพิจารณาให้รอบคอบและหาวิธีบรรยายที่เหมาะสม เช่น นักภาษาศาสตร์กลุ่มหนึ่งอาจจะพิจารณาเฉพาะภาษาผู้ใหญ่ แต่นักภาษาศาสตร์จิตวิทยาจะคำนึงถึงภาษาของเด็ก ดังนั้นลักษณะการเก็บข้อมูลและข้อจำกัดอาจจะต้องมีข้อตกลงที่แตกต่างกันไปในระหว่างนักภาษาศาสตร์ ๒ กลุ่มนี้
จากลักษณะความเป็นวิทยาศาสตร์ในส่วนที่เกี่ยวกับความกระจ่างและครอบคลุมหัวข้อที่ต้องการศึกษา นักภาษาศาสตร์ที่อ้างว่าทฤษฎีของตนมีความกระแจ่มกระจ่างจำเป็นต้องแสดงให้เห็นจริง มิฉะนั้นนักภาษาศาสตร์รุ่นต่อมาสามารถวิจารณ์ได้ว่าขัดกับหลักวิทยาศาสตร์
๒. การบรรยายภาษาควรมีระบบและใช้หลักประหยัด
คำว่ามี “ระบบ” นี้มีความหมายครอบคลุมในหลายลักษณะได้แก่ การมีระเบียบวิธี (Methodology) ในการบรรยายภาษาที่สอดคล้องตามมาตรฐาน มีการวางแผนในการบรรยาย มีการตั้งสมมุติฐานและทดสอบสมมุติฐานได้
การบรรยายภาษาที่มีระเบียบวิธีก็คือการมีหลักการหรือทฤษฎีพื้นฐานที่จะนำไปบรรยายในหัวข้อเฉพาะที่ต้องการจะศึกษา และในการจะศึกษาสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้นจำเป็นต้องวางแผนให้มีระบบ นั่นก็คือต้องรู้ด้วยว่าสิ่งที่เราจะศึกษานั้นสัมพันธ์กับลักษณะอื่นๆอย่างไร และจะมีผลกระทบอย่างไรบ้าง สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้หรือไม่ เช่น ถ้าเราต้องการจะขายชำแหละ เราต้องวางแผนอย่างมีระบบือประการแรกรู้ลักษณะของเนื้อไก่ เช่น ไก่ส่วนอก ต่างกับไก่ส่วนน่อง หรือต่างกับไก่ส่วนปีกอย่างไร แล้วจึงพิจาณาต่อไปว่า ระหว่างไก่เนื้อขาว คือส่วนนก กับไก่เนื้อคล้ำคือส่วนน่องนั้น มีผู้บริโภคต่างกันอย่างไร ใครเป็นผู้บริโภคส่วนใดมากกว่ากัน พร้อมทั้งคำนึงถึงรายละเอียดปลีกย่อยอื่นๆจึงจะวางแผนการตลาดได้
ในด้านภาษาก็เช่นกัน หากผู้บรรยายภาษามความประสงค์จะบรรยายนามวลี (Noun Phrase) ในภาษา ผู้บรรยายภาษษคนนั้นจะรู้จักเฉพาะนามวลีในภาษานั้นๆไม่ได้ จำเป็นต้องรู้ให้กว้างออกไปว่า นามวลีจะต้องเกิดร่วมกับกริยาวลี (Verb Phrase) ในลักษณะต่างๆกัน และในส่วนของนามวลีนั้นจะยังมีลักษณะอื่นๆทางภาษาเกิดขึ้นร่วมด้วยหรือไม่
นอกจากนี้ยังต้องรู้จักเปรียบเทียบว่าหลักการที่ใช้บรรยายนามวลีนั้นอาจใช้กับกริยาวลีได้หรือไม่ได้อย่างไร และสามารถจะบรรยายอย่างแจ่มกระจ่างได้อย่างไร นั่นก็แสดงว่าผู้บรรยายต้องเป็นผู้รอบรู้เกี่ยวกับเนื้อหาของภาษาที่จะบรรยาย และเมื่อวางแผนได้อย่างมีระบบแล้วจำเป็นต้องตั้งสมมุติฐานและทดสอบสมมุติฐานให้เห็นว่าเป็นจริงได้เพียงใด
ตัวอย่างของการบรรยายภาษาที่ต้องอาศัยการตั้งสมมุติฐานเห็นได้อย่างกว้างขวางในงานด้านภาษาศาสตร์จิตวิทยา เช่น เมื่อต้องการจะศึกษาพัฒนาภาษาแม่ของมนุษย์ จำเป็นต้องวางแผนอย่างมีระบบว่าจะต้องบรรยายในเรื่องใดบ้าง อาทิ มีองค์ประกอบใดบ้างที่ทำให้มนุษย์รู้ภาษา และการรู้ภาษาหมายรวมถึงคนที่พูดไม่ได้ด้วยหรือไม่ เช่น คนหูหนวกตั้งแต่เกิดหรือหูหนวกมาก มีการสูญเสียการได้ยินขั้นรุนแรงและถ้าเป็นเช่นนั้นสัตว์ซึ่งพูดไม่ได้จะมีการเรียนรู้ภาษาด้วยหรือไม่ และเมื่อตั้งสมมุติฐานว่ามนุษย์เท่านั้นที่สามารถรู้ภาษาได้ สัตว์อื่นๆไม่สามารถกล่าวได้ว่า รู้ภาษา สมมุติฐานดังกล่าวจำเป็นต้องมีการทดสอบ จึงมีการทดสอบกับลิงชิมแปนซีในหลายๆลักษณะ จนได้ลมายืนยันว่าสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ได้วางไว้ จึงจะกล่าวได้ว่าเป็นวิธีการศึกษาตามแนววิทยาศาสตร์
๓. การบรรยายภาษาต้องมีความสม่ำเสมอสอดคล้องกับความเป็นจริง
คือควรขจัดลักษณะ “อัตวิสัย” ออกจ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
As the science of Linguistics ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ เมื่อยุโรปมุ่งแสวงหาอาณานิคมและอินเดียได้ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ การค้นพบงานของปานินีเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษาสันสกฤต ซึ่งล้ำยุคกว่างานศึกษาด้านภาษาในสมัยกรีกและโรมัน ถึงแม้ว่าจะได้เขียนขึ้นในช่วงเวลาที่ไม่ห่างไกลกันมากนัก คือช่วง ๖๐๐ – ๕๐๐ ปีก่อนคริสต์ศักราช แนวคิดของปานินีเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษานี้เองทำให้ผ้ที่ศึกษาภาษาในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ ได้เริ่ม “พิจารณา” การศึกษาภาษาเสียใหม่ โดยเห็นว่าการวิเคราะห์ภาษาไม่ควรมีข้อจำกัดอยู่กับไวยากรณ์เท่านั้น แต่การวิเคราะห์ภาษาควรคำนึงถึง “เสียง” และ “คำพูด” ด้วย นอกจากนี้ยังมีความคิดว่าการบรรยายภาษาควรมีความกระจ่างครอบคลุมเนื้อหา อธิบายได้อย่างมีระบบและมีความประหยัดในการบรรยาย ตลอดจนมีความสม่ำเสมอสอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งเป็นแนวที่ผู้ศึกษาภาษาในยุคนี้ได้มีความเห็นสอดคล้องกันว่า เป็นการศึกษาภาษาตามแนว “วิทยาศาสตร์” และเป็นแนวคิดที่รับอิทธิพลจากการศึกษาของปานินิที่ได้ค้นพบ So, in this era, there was a group of people interested in the study of language, language education by trying to look like "Science" itself, which is called "Linguistics", or "Linguistics", with an emphasis on how the study of Linguistics should aim to have a principle along the growing science as pin tip Thuy (2544 (2001): 5-10) have been extended to the following: 1. to describe the language should be clear and covers topics that need narration. Voice narration of a specific language is required to convey their voice with the phonetic alphabet. Do not use cursive or cursive letters spell because of spell or the use of it. It is sometimes written with the same letters but different pronunciation, and when it comes to data transfer, audio which shows clarity in pronunciation, it is necessary to describe the information found, or otherwise, it is necessary to determine what portion of the information briefings. We can see that the voice of the people in a particular language, there are still missing out, such as voice range in northern regions may be different from the voice of the people of the South, so the speaker needs to hit the frame, the sound of yourself, people, groups, and specific briefings, speaking in a Cadence. However, the data looks different from the scientific information because of language and the human need to exist in society and therefore does not collect information for laboratories. Need to be collected in a natural state. Thus, language is an exception, where the many different styles of language studies need to consider carefully the appropriate find briefings, for example, one group might be linguists consider just adult psychology takes into account, but linguists, language of the children. Therefore, the storage characteristics and limitations may require different agreements during this 2 groups, linguist. จากลักษณะความเป็นวิทยาศาสตร์ในส่วนที่เกี่ยวกับความกระจ่างและครอบคลุมหัวข้อที่ต้องการศึกษา นักภาษาศาสตร์ที่อ้างว่าทฤษฎีของตนมีความกระแจ่มกระจ่างจำเป็นต้องแสดงให้เห็นจริง มิฉะนั้นนักภาษาศาสตร์รุ่นต่อมาสามารถวิจารณ์ได้ว่าขัดกับหลักวิทยาศาสตร์ ๒. การบรรยายภาษาควรมีระบบและใช้หลักประหยัด คำว่ามี “ระบบ” นี้มีความหมายครอบคลุมในหลายลักษณะได้แก่ การมีระเบียบวิธี (Methodology) ในการบรรยายภาษาที่สอดคล้องตามมาตรฐาน มีการวางแผนในการบรรยาย มีการตั้งสมมุติฐานและทดสอบสมมุติฐานได้ การบรรยายภาษาที่มีระเบียบวิธีก็คือการมีหลักการหรือทฤษฎีพื้นฐานที่จะนำไปบรรยายในหัวข้อเฉพาะที่ต้องการจะศึกษา และในการจะศึกษาสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้นจำเป็นต้องวางแผนให้มีระบบ นั่นก็คือต้องรู้ด้วยว่าสิ่งที่เราจะศึกษานั้นสัมพันธ์กับลักษณะอื่นๆอย่างไร และจะมีผลกระทบอย่างไรบ้าง สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้หรือไม่ เช่น ถ้าเราต้องการจะขายชำแหละ เราต้องวางแผนอย่างมีระบบือประการแรกรู้ลักษณะของเนื้อไก่ เช่น ไก่ส่วนอก ต่างกับไก่ส่วนน่อง หรือต่างกับไก่ส่วนปีกอย่างไร แล้วจึงพิจาณาต่อไปว่า ระหว่างไก่เนื้อขาว คือส่วนนก กับไก่เนื้อคล้ำคือส่วนน่องนั้น มีผู้บริโภคต่างกันอย่างไร ใครเป็นผู้บริโภคส่วนใดมากกว่ากัน พร้อมทั้งคำนึงถึงรายละเอียดปลีกย่อยอื่นๆจึงจะวางแผนการตลาดได้ ในด้านภาษาก็เช่นกัน หากผู้บรรยายภาษามความประสงค์จะบรรยายนามวลี (Noun Phrase) ในภาษา ผู้บรรยายภาษษคนนั้นจะรู้จักเฉพาะนามวลีในภาษานั้นๆไม่ได้ จำเป็นต้องรู้ให้กว้างออกไปว่า นามวลีจะต้องเกิดร่วมกับกริยาวลี (Verb Phrase) ในลักษณะต่างๆกัน และในส่วนของนามวลีนั้นจะยังมีลักษณะอื่นๆทางภาษาเกิดขึ้นร่วมด้วยหรือไม่ นอกจากนี้ยังต้องรู้จักเปรียบเทียบว่าหลักการที่ใช้บรรยายนามวลีนั้นอาจใช้กับกริยาวลีได้หรือไม่ได้อย่างไร และสามารถจะบรรยายอย่างแจ่มกระจ่างได้อย่างไร นั่นก็แสดงว่าผู้บรรยายต้องเป็นผู้รอบรู้เกี่ยวกับเนื้อหาของภาษาที่จะบรรยาย และเมื่อวางแผนได้อย่างมีระบบแล้วจำเป็นต้องตั้งสมมุติฐานและทดสอบสมมุติฐานให้เห็นว่าเป็นจริงได้เพียงใด ตัวอย่างของการบรรยายภาษาที่ต้องอาศัยการตั้งสมมุติฐานเห็นได้อย่างกว้างขวางในงานด้านภาษาศาสตร์จิตวิทยา เช่น เมื่อต้องการจะศึกษาพัฒนาภาษาแม่ของมนุษย์ จำเป็นต้องวางแผนอย่างมีระบบว่าจะต้องบรรยายในเรื่องใดบ้าง อาทิ มีองค์ประกอบใดบ้างที่ทำให้มนุษย์รู้ภาษา และการรู้ภาษาหมายรวมถึงคนที่พูดไม่ได้ด้วยหรือไม่ เช่น คนหูหนวกตั้งแต่เกิดหรือหูหนวกมาก มีการสูญเสียการได้ยินขั้นรุนแรงและถ้าเป็นเช่นนั้นสัตว์ซึ่งพูดไม่ได้จะมีการเรียนรู้ภาษาด้วยหรือไม่ และเมื่อตั้งสมมุติฐานว่ามนุษย์เท่านั้นที่สามารถรู้ภาษาได้ สัตว์อื่นๆไม่สามารถกล่าวได้ว่า รู้ภาษา สมมุติฐานดังกล่าวจำเป็นต้องมีการทดสอบ จึงมีการทดสอบกับลิงชิมแปนซีในหลายๆลักษณะ จนได้ลมายืนยันว่าสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ได้วางไว้ จึงจะกล่าวได้ว่าเป็นวิธีการศึกษาตามแนววิทยาศาสตร์
๓. การบรรยายภาษาต้องมีความสม่ำเสมอสอดคล้องกับความเป็นจริง
คือควรขจัดลักษณะ “อัตวิสัย” ออกจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
A science of linguistics
.In the late 19th century, when Europe seek to widen the colonial and Indian was a colony of England. The discovery of throwing nanee about analysis of Sanskrit. The advanced study of language tasks in Greek and Roman times.Is the big education - on theory, ad. The idea of throwing nanee about language analysis this study makes fabric language late in the century at 18 start. "Consideration" of the new words.But the language should consider "sound" and "words". Also the idea that language should have a clear cover lecture content. Explain systematically and frugality in the lecture.Which is really the study of language in this era have agreed that language study along the "science" and is a concept that the influence from the study of the PANI close that discovered
.So in this era, it was the group of people interested in studying the language analyzer by trying ให้การศึกษาภาษา characterized as "science" in itself. Which is called "linguistics" or "Linguistics."As the pin tip growth (2002 facedby: Horde5 – 10) expanding following
1. The language should have clear clear. And covers the topic to describe
.The voice of one language to convey the voice with phonetic, should not be used because of the writer or writers or spelling letters used to spell it. Sometimes written the same, but pronounced differently.Or otherwise need to specify whether to describe any part of the data cable.However, we can see that the voice of the people in a variety of a language are also out, such as speech in northern regions may be different from the voice of the people in the south.Lectures and speaking styles which
.However, the language has different styles of scientific data. Due to language belongs to the people. And the man needs in society. Could not collect data in laboratory.Therefore, the language has many characteristics. The exception The study of language must be carefully considered and find a way to describe such as linguists group, one may consider only the language adults.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: