บทนำความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา การแปล - บทนำความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อังกฤษ วิธีการพูด

บทนำความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาส

บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตากเขต 2 รับผิดชอบหน้าที่ในการบริหารการจัดการศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดตากทั้งหมด 5 อำเภอ ประกอบไปด้วย อำเภอแม่สอด อำเภอพบพระ อำเภออุ้มผาง อำเภอแม่ระมาดและอำเภอท่าสองยาง ซึ่งทั้งหมดเป็นอำเภอที่มีพื้นที่ติดแนวตะเข็บชายแดนสหภาพเมียนมาร์ สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่บนภูเขาสูงสลับที่ราบเล็กน้อย จึงทำให้มีความแตกต่างทั้งสภาพพื้นที่และความแตกต่างทางกลุ่มชาติพันธ์ที่มีความหลากหลายของชนเผ่า จึงทำให้การศึกษาต้องยืดหยุ่นให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ประกอบกับการคมนาคมเป็นไปด้วยความยากลำบาก ปัญหาที่พบในพื้นที่มีทั้งปัญหาชนกลุ่มน้อย ปัญหาด้านการใช้ภาษาที่มีความหลากหลายตามชนเผ่า ปัญหายาเสพติด ปัญหาแรงงานข้ามชาติ ปัญหาดังกล่าวล้วนมีผลกระทบต่อการจัดการศึกษาในพื้นที่
การจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตากเขต 2 มีโรงเรียนในสังกัดทั้งสิ้น 124 โรงเรียนซึ่งแต่ละโรงเรียนอยู่ต่างแต่ละพื้นที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื้อชาติและภาษาสูงมาก ทางเขตพื้นที่การศึกษาพยายามสร้างโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมทั่วถึงมีคุณภาพ โดยมีกลยุทธ์สำคัญได้แก่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ (กิตติศักดิ์ ศรีธารา ,2556 หน้า 55-56 อ้างจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตากเขต 2 ,2552 หน้า 3) การพัฒนาคุณภาพการศึกษานั้นวิจัยในชั้นเรียนเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ได้รับการยอมรับสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้หรือแก้ปัญหาในชั้นเรียนได้ดังที่นักการศึกษาหลายคน กล่าวถึงคุณประโยชน์ของการทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อการพัฒนาศักยภาพครูและผู้เรียน เช่นที่ น้อมศรี เคท (2545, หน้า 7) และกุลยา ตันติผลาชีวะ (2545, หน้า16) ได้นำเสนอความคิดและสามารถสรุปเป็นใจความที่สอดคล้องกันได้ว่า ครูที่ทำวิจัยเป็นครูที่มีความคิดที่เป็นระบบ สามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน เข้าใจเด็กเป็นรายบุคคลเข้าใจการกระทำของเด็ก ครู ผู้ปกครอง ชุมชน ผลการวิจัยสะท้อนให้ครูเห็นสภาพของตนเองและการเรียนรู้ของผู้เรียน เห็นจุดที่ครูควรพัฒนาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
วิจัยในชั้นเรียนมีความสำคัญอย่างยิ่งซึ่งในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ฉบับแก้ไข 2545 กำหนดไว้ในมาตรา 24 (5) และมาตรา 30 ว่าให้มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้ง การส่งเสริมครูสามารถทำวิจัย ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545 หน้า 14-15)
จากการศึกษางานวิจัยเรื่องรูปแบบการพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยชั้นเรียนของครูปฐมวัยของสุณี บุญพิทักษ์ (2554, หน้า 80 ) พบปัญหาการทำวิจัยชั้นเรียนของครูปฐมวัย ครูไม่เข้าใจขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน แม้ว่าเคยผ่านการอบรมมาแล้ว แต่ทำวิจัยในชั้นเรียนไม่ได้ ซึ่งเกิดจากกระบวนการอบรม ไม่มีฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน วิทยากรบรรยายเร็วใช้ศัพท์วิชาการครูไม่เข้าใจ และขาดตัวอย่างงานวิจัยปฐมวัย รวมไปถึงการอบรมมีครูหลายระดับชั้นอบรมร่วมกัน วิทยากรไม่กล่าวถึงวิจัยในชั้นเรียนของปฐมวัย และไม่มีตัวอย่างวิจัยในชั้นเรียนของปฐมวัย สอดคล้องกับข้อมูลที่ผู้วิจัยได้ศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการการพัฒนาด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครู
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
IntroductionThe history and importance of the problem.Office of elementary education zone 2 zone Tak, responsible for the management of education in all 5 district, Tak province consists of Mae Sot district Amphoe phop Phra, Amphoe Umphang district, Mae Ramat tha song Yang District, and all of which are municipalities in which the vertical seams of the frontier the United Myanmar. Most of the terrain is mountainous areas on the High Plains, with little difference in both the environment and the different ethnic groups, with a variety of ethnic. So the study must be flexible to fit the environment to transportation is difficult. The problem with all the problems that are found in the area of minority. The use of language by ethnic Drug problems. The problems migrant workers it has impact on education in the area.การจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตากเขต 2 มีโรงเรียนในสังกัดทั้งสิ้น 124 โรงเรียนซึ่งแต่ละโรงเรียนอยู่ต่างแต่ละพื้นที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื้อชาติและภาษาสูงมาก ทางเขตพื้นที่การศึกษาพยายามสร้างโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมทั่วถึงมีคุณภาพ โดยมีกลยุทธ์สำคัญได้แก่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ (กิตติศักดิ์ ศรีธารา ,2556 หน้า 55-56 อ้างจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตากเขต 2 ,2552 หน้า 3) การพัฒนาคุณภาพการศึกษานั้นวิจัยในชั้นเรียนเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ได้รับการยอมรับสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้หรือแก้ปัญหาในชั้นเรียนได้ดังที่นักการศึกษาหลายคน กล่าวถึงคุณประโยชน์ของการทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อการพัฒนาศักยภาพครูและผู้เรียน เช่นที่ น้อมศรี เคท (2545, หน้า 7) และกุลยา ตันติผลาชีวะ (2545, หน้า16) ได้นำเสนอความคิดและสามารถสรุปเป็นใจความที่สอดคล้องกันได้ว่า ครูที่ทำวิจัยเป็นครูที่มีความคิดที่เป็นระบบ สามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน เข้าใจเด็กเป็นรายบุคคลเข้าใจการกระทำของเด็ก ครู ผู้ปกครอง ชุมชน ผลการวิจัยสะท้อนให้ครูเห็นสภาพของตนเองและการเรียนรู้ของผู้เรียน เห็นจุดที่ครูควรพัฒนาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น Research on the classroom is very important in the National Education Act corrective 2545 (2002) Buddhist 2542 (1999) defined in section 24 (5) and section 30 that a teacher can promote an atmosphere. The environment. Supplements and facilitates the student to learn and knowledge, as well as to promote the teacher can do research. Using the research as part of the learning process. To develop appropriate learning with learning (Office of the Director of national education, 2545 (2002) Page 14-15). จากการศึกษางานวิจัยเรื่องรูปแบบการพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยชั้นเรียนของครูปฐมวัยของสุณี บุญพิทักษ์ (2554, หน้า 80 ) พบปัญหาการทำวิจัยชั้นเรียนของครูปฐมวัย ครูไม่เข้าใจขั้นตอนการทำวิจัยในชั้นเรียน แม้ว่าเคยผ่านการอบรมมาแล้ว แต่ทำวิจัยในชั้นเรียนไม่ได้ ซึ่งเกิดจากกระบวนการอบรม ไม่มีฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน วิทยากรบรรยายเร็วใช้ศัพท์วิชาการครูไม่เข้าใจ และขาดตัวอย่างงานวิจัยปฐมวัย รวมไปถึงการอบรมมีครูหลายระดับชั้นอบรมร่วมกัน วิทยากรไม่กล่าวถึงวิจัยในชั้นเรียนของปฐมวัย และไม่มีตัวอย่างวิจัยในชั้นเรียนของปฐมวัย สอดคล้องกับข้อมูลที่ผู้วิจัยได้ศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการการพัฒนาด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครู
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Introduction, background and significance of the problem!Office of education Tak designated 2 responsibility in the administration of all 5 District Tak district. The District, sichon District umphang., and kaeng krachan District ban kruat district.The topography of the area is mainly on high mountains, plains, a little. Consequently there are differences, both the area and difference of the diverse ethnicity collision tribe.According to the transportation is with difficulty. The problems found in the area are the problems minorities. The use of language, with a variety of the tribes. The drug problems, problems of migrant workersThe educational management of the office of education in school under the 2 region has exposed at all 124 school, each of which school is different each area there are cultural diversity. Ethnicity and higher.The strategy of the development of quality and standards of education at all levels. As well as the quality of teachers and educational personnel at all levels (kittisak sridhara.2556 page 55-56 quote from office of education, 2 exposed area2552 page 3) the quality of education is classroom research as a tool that can be used in the development of the accepted learning or problem solving in the classroom as many educatorsAs the bow Si, Kate (2545
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: