เคมี ได้ผลดีกับการติดเชื้อที่ไม่รุนแรง- กลุ่มยาควิโนโลน (Quinolone) มั การแปล - เคมี ได้ผลดีกับการติดเชื้อที่ไม่รุนแรง- กลุ่มยาควิโนโลน (Quinolone) มั อังกฤษ วิธีการพูด

เคมี ได้ผลดีกับการติดเชื้อที่ไม่รุน

เคมี ได้ผลดีกับ
การติดเชื้อที่ไม่รุนแรง
- กลุ่มยาควิโนโลน (Quinolone) มักจะใช้ในระบบทางเดินอาหาร และระบบทาง
เดินปัสสาวะ เช่น นอร์ฟลอกซาซิน ซีโปรฟลอกซาซิน โอฟลอกซาซิน ลีโวฟลอก
ซาซิน โลมีฟลอกซาซิน สปาฟลอกซาซิน
2. แผนกผู้ป่วยนอก หมายถึง แผนกตรวจผู้ป่วยทั่วไปที่ตรวจคัดกรองก่อนที่จะส่งต่อไปยังผู้
เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาต่อไป (ซึ่งอยู่ชั้นที่ 1 ของโรงพยาบาลพุทธชินราช)
3. เลขประจำ ตัวผู้ป่วย หมายถึง ตัวเลขที่ทางผู้ทำ การวิจัยกำ หนดให้เฉพาะสมาชิกแต่ละคน
4. บริการทางการแพทย์ หมายถึง เริ่มจากผู้ป่วยเข้ารับบริการจากแพทย์ทั่วไป จนถึงเสร็จสิ้น
การรับยาจากเภสัชกร
5. ชงดื่ม หรือละลายนํ้าเพื่อดื่ม หมายความว่า นำ ยาไปผสมนํ้าในแก้วปริมาตร 250 มิลลิลิตร
ไม่รวมถึงการบดยาละลายนํ้าในช้อนให้เด็กรับประทาน
6. คำ แนะนำ คือ การให้ความรู้เพิ่มเติมจากแพทย์และ/หรือ เภสัชกรที่เกี่ยวข้องในขบวนการรักษา

กรอบความคิด
ความรู้เดิมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ
ความรู้ที่ถูกต้องได้รับบริการทางการแพทย์มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะมากขึ้น
ความรู้ที่ไม่ถูกต้อง
ผลการศึกษา
ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะของผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพุทธชินราช
1. ข้อมูลทั่วไป
ในการศึกษาครั้งนี้มีกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 197 คน แต่ขาดการติดตามการทดสอบ
ความรู้หลังจากรับคำ แนะนำ แพทย์และ/หรือเภสัชกรแล้วจำ นวน 5 คน กลุ่มตัวอย่างแบ่ง
เป็น3 ช่วง อายุ 15-30 ปี เป็นชายคิดเป็นร้อยละ 33.33 หญิงคิดเป็นร้อยละ 30.70 อายุ 31-45
ปี เป็นชายคิดเป็นร้อยละ 37.18 หญิงคิดเป็นร้อยละ 35.96 อายุ 46-60 ปี เป็นชายคิดเป็นร้อย
ละ 29.49 หญิงคิดเป็นร้อยละ 33.33
2. ข้อมูลแสดงความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะของผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก
โรงพยาบาลพุทธชินราช ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ป่วยมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะน้อย ก่อนรับคำ แนะนำ จากแพทย์ และ/หรือเภสัชกร คิดเป็นร้อยละ 1.56 และหลังรับคำ แนะนำ จากแพทย์ และ/หรือเภสัชกร คิดเป็นร้อยละ 1.56 ผู้ป่วยมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะปานกลาง ก่อนรับคำ แนะนำ จากแพทย์ และ/หรือเภสัชกร คิดเป็นร้อยละ 33.33 และหลังรับคำ แนะนำ จากแพทย์ และ/หรือเภสัชกร คิดเป็นร้อยละ 25.52 ผู้ป่วยมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะมาก ก่อนรับคำ แนะนำ จากแพทย์ และ/หรือเภสัชกร คิดเป็นร้อยละ 65.10 และหลังรับคำแนะนำ จากแพทย์ และ/หรือเภสัชกร คิดเป็นร้อยละ 72.92 แสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มี
ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะมาก และหลังจากรับคำ แนะนำ แพทย์และ/หรือเภสัชกร
แล้วผู้ป่วยมีความรู้เพิ่มขึ้น
สรุปได้ว่า ผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพุทธชินราชโดยรวมมีความ
รู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะหลังรับคำ แนะนำจากแพทย์และ/หรือเภสัชกรเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ







3. ข้อมูลแสดงความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ 5 อันดับแรกที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ทราบ
3.1 ผู้ป่วยเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของยาปฏิชีวนะ คิดเป็นร้อยละ 58 โดยผู้ป่วย
เข้าใจว่ายาปฏิชีวนะ หมายถึง
ยาแก้อักเสบ คิดเป็นร้อยละ 43.24
ยาอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 27.93
ยาแก้ปวด คิดเป็นร้อยละ 18.02
ยาลดไข้ คิดเป็นร้อยละ 15.32
ยาแก้ไอ คิดเป็นร้อยละ 3.60
3.2 ผู้ป่วยเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแก้ไขภาวะดื้อยาปฏิชีวนะ คิดเป็นร้อยละ 54
โดย ผู้ป่วยเข้าใจว่าเมื่อเกิดการดื้อยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งขึ้นแล้ว ภาวะดื้อต่อยาชนิดนั้น
จะหายได้ คือ เมื่อดื้อยาชนิดนั้นแล้ว ถ้าปล่อยไว้ระยะเวลาหนึ่งจะสามารถกลับมาใช้ยา
ชนิดนั้นรักษาการติดเชื้อนั้นให้หายได้
3.3 ผู้ป่วยเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวิธีการใช้ยาปฏิชีวนะชนิดเม็ด คิดเป็นร้อยละ 31 โดยผู้
ป่วยนำ ยาปฏิชีวนะชนิดเม็ดมาโรยแผล คิดเป็นร้อยละ 55
ผู้ป่วยนำ ยาปฏิชีวนะชนิดเม็ดไปชงดื่ม/ละลายนํ้าเพื่อดื่ม คิดเป็นร้อยละ 23.33
ผู้ป่วยนำ ยาปฏิชีวนะชนิดเม็ดไปใช้ฉีดโดยผสมกับยาฉีดตัวอื่น คิดเป็นร้อยละ 11.67
ผู้ป่วยนํ้ายาปฏิชีวนะชนิดเม็ดไปใช้แทนยาเหน็บ คิดเป็นร้อยละ 6.67
ผู้ป่วยนํ้ายาปฏิชีวนะชนิดเม็ดไปบดทาแก้โรคผิวหนัง คิดเป็นร้อยละ 5
ผู้ป่วยนํ้ายาปฏิชีวนะชนิดเม็ดไปหยอดตา/หูโดยผสมกับนํ้าเปล่า คิดเป็นร้อยละ 3.33
3.4 ผู้ป่วยเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกินยาปฏิชีวนะบ่อยๆ กับการดื้อยา คิดเป็นร้อยละ 29
โดยผู้ป่วยคิดว่าการกินปฏิชีวนะบ่อยๆ ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ไม่ทำ ให้เกิดการดื้อยา
3.5 ผู้ป่วยไม่เข้าใจว่าจะต้องกินยาปฏิชีวนะต่อเนื่องจนหมดแม้ว่าอาการป่วยจะหายไปแล้ว
คิดเป็นร้อยละ 27
4. ข้อมูลแสดงการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้ป่วยหลังจากรับคำ แนะนำ ตามคำ ถามจากแบบ
ทดสอบแต่ละข้อ
ในการศึกษาครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกันถูกทดสอบสองครั้ง โดยแบ่งเป็นก่อน
และหลังรับคำ แนะนำ จากแพทย์ และ/หรือเภสัชกร
ดังนั้น สรุปได้ว่า ผู้ป่วยมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะหลังจากรับคำ แนะนำ จาก
แพทย์ และ/หรือ เภสัชกรเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญ
การที่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพุทธชินราชมีความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้ยาปฏิชีวนะหลังรับคำ แนะนำ จากแพทย์และ/หรือเภสัชกรเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีนัยสำคัญ เนื่องจากผู้ป่วยไม่ได้รับคำ แนะนำ เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะจากแพทย์และ/หรือเภสัชกร ซึ่งผู้ป่วยทำ แบบทดสอบความรู้โดยสุ่มคำตอบเอาเอง


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The chemical works withMild infections.-Villa Nova aesthetics alone Group (Quinolone) is often used in Gastroenterology and gastrointestinal.Urinary, such as norfloxacin Sea Pro roflok za Xin OA Cherry at Xin Lee vo flok flokSATO resin Lolita with Xin za flok Spa for Moussa flok Xin2. outpatient department means the Department of General patient screening before it is delivered to the user.The following branch specific expertise (which is located on the 1st floor of the hospital, the Buddha).3. patient identification number means the number that the user made. (B) specific research assignments, each Member4. medical service means a service, starting from patients from general medicine until the finish.To get the drug from the pharmacist.5. drink water-drink makers or means to take 250 ml volume in a glass of water.Does not include grinding pills in a spoon, baby eating.6. the recommendation is to make more knowledge from medical and/or pharmacist involved in treatment.Conceptual frameworkPrior knowledge about the use of antibioticsThe knowledge that is required to receive medical services with the knowledge about the use of antibiotics and more.Knowledge that is not valid.Study resultsKnowledge about the use of antibiotics and patients at the hospital outpatient department at the Buddha chinnarat.1. General informationIn this study, there are samples of all 197 people, but lack of track testing.Knowledge, after receiving instructions. The doctor and/or pharmacist, then sample number 5 split.Is 3. The age range of 15-30 years old, male, female, 33.33 percent 30.70% aged 31-45.Year male female 37.18 per cent 35.96 percent age 46-60 years as a man's.Each female 29.49 33.33% 2. the data shows a knowledge of antibiotics patients at out-patient departments.Hospital of the Buddha In this study, patients with knowledge about the use of antibiotics before receiving instructions from a physician and/or pharmacist, representing 1.56 percent and after receiving advice from a physician and/or pharmacist, representing 1.56 patients are knowledgeable about antibiotic use medium before receiving instructions from a physician and/or pharmacist 33.33 percent and after receiving advice from a physician and/or pharmacist 25.52 percent patients are knowledgeable about many antibiotics before receiving instructions from a physician and/or pharmacist 65.10% and after receiving advice from a physician and/or pharmacist 72.92 percent suggests that the majority of patients.Knowledge about the use of antibiotics and, after receiving much guidance. Physician and/or pharmacist.Then the patient has increased knowledge. Conclude that the patient is at the hospital outpatient department at the Buddha chinnarat is specialized.I don't know about taking antibiotics after receiving the. Recommended by physicians and/or pharmacists to increase significantly.3. information, knowledge about the use of antibiotics, the top 5 most patients do not know.3.1 the patient understood the meaning of incorrect antibiotic 58% by patient.Understand that the antibiotics meant.Anti-inflammatory medicines 43.24 per centOther medicines 27.93%Painkillers 18.02 percentDrug fever, 15.32 percentCough 3.60%3.2 the patient an incorrect understanding about dementia edited antibiotics 54 percent.By the patient, understand that when one or more types of antibiotics and then. Hypoxia, drug resistance, species.Heal is when drug-resistant type, then. If left untreated, a period of time will be able to come back to drug use.That kind of treat it.3.3 patient incorrect understanding on how to use antibiotics and pellets 31% by.Ill bring the Antibiotic pellets come sprinkled 55 percent woundPatients bring a The granular-type antibiotics and drinking water, to drink a 23.33 percent.Patients bring a Antibiotics by injection to use pellets mixed with other injectables 11.67%Patients with antibiotic cleaners to use pellets instead of 6.67 percent suppositories.Patients with antibiotic cleaners pellets to crush lash edit skin diseases, representing 5.Patients with antibiotic cleaners pellets eyedropper/ear to mix with water. 3.33 per cent3.4 the patient understands isn't correct about eating frequently antibiotics against drug-29 percent.Patients thought to eat antibiotics frequently contact each other for a long time does not cause drug resistance.3.5 the patient does not understand that it will have to take antibiotics continuously until all though ill be gone.27 per cent4. the data shows changes in patient's knowledge, after receiving the. According to the instructions. Questions from theEach test.In this study The same samples were tested twice as before.And after receiving advice from a physician and/or pharmacist. Thus conclude that the patient has knowledge about the use of antibiotics after receiving the. Instructions from theThe physician and/or pharmacist increased significantly.The patient is at the hospital outpatient department at the Buddha chinnarat are knowledgeable about.Use of antibiotics after receiving instructions. Your doctor and/or pharmacist increase is not significant, because the patient did not receive instructions about the use of antibiotics by a doctor and/or pharmacist for which patients do. Random knowledge quiz answers.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: