การเข้าเป็นสมาชิกของอาเซียน ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งใน 5 ประเทศที่ร่ การแปล - การเข้าเป็นสมาชิกของอาเซียน ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งใน 5 ประเทศที่ร่ มาเลย์ วิธีการพูด

การเข้าเป็นสมาชิกของอาเซียน ประเทศฟ



การเข้าเป็นสมาชิกของอาเซียน




ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งใน 5 ประเทศที่ร่วมก่อตั้งอาเซียนในปี 2510 โดยการร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ ของนายนาชิโช รามอส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สืบเนื่องจาก ฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่ถูกครอบงำโดยจักรวรรดินิยมตะวันตกมาเป็นเวลานานถึง 425 ปี[2] ภายหลังจากได้รับเอกราชจากสหรัฐฯ ฟิลิปปินส์จึงได้ดำเนินนโยบายเสรีนิยมและนิยมสหรัฐมาโดยตลอด ทั้งการส่งทหารเข้าร่วมรบในสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็น เช่น สงครามเวียดนาม และสงครามเกาหลี รวมถึงการร่วมเป็นสมาชิกขององค์การ SEATO เพื่อการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ทำให้ในระยะแรก นโยบายต่างประเทศของฟิลิปปินส์ยังคงตั้งอยู่บนรากฐานของการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นสำคัญ กระทั่งมีความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองโลกโดยสหรัฐหันมาสร้างความสัมพันธ์กับจีน ทำให้ฟิลิปปินส์ต้องหันไปคบค้ากับจีน และพยายามแสวงหาการค้ำประกันเกี่ยวกับภาวะความมั่นคงด้านการเมืองและเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้วยการเข้ามามีบทบาทในองค์การส่วนภูมิภาคอย่างสมาคมอาเซียน



แม้ว่าฟิลิปปินส์จะมีประสบการณ์ที่ไม่ดีนักต่อการร่วมมือระหว่างประเทศในอดีต (สมาคมอาสา และมาฟิลินโด) แต่ก็ยังคงมีความตั้งใจในการเข้ามาเป็นสมาชิกของอาเซียน เพื่อผลประโยชน์ในการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมและความเข้าใจระหว่างประเทศสมาชิก และเพื่อแสดงถึงการเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของชาวฟิลิปปินส์ ที่มักถูกมองโดยสมาชิกอาเซียนว่าไม่ค่อยจะเป็นคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สักเท่าไหร่ เนื่องจากมีวัฒนธรรม ประเพณี รวมถึงศาสนาเป็นแบบตะวันตก นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ยังมีความเชื่อว่าการเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนจะช่วยรักษาความมั่นคงทั้งทางเศรษฐกิจและการทหารของฟิลิปปินส์ เพื่อเตรียมรับกับการที่สหรัฐจะถอนทหารอเมริกันและยกเลิกฐานทัพในฟิลิปปินส์ การเข้าร่วมอาเซียนจึงเป็นหลักประกันได้ว่าฟิลิปปินส์สามารถที่จะมีกลุ่มประเทศคอยให้การสนับสนุนทั้งทางเศรษฐกิจและทางการทหาร โดยกลุ่มประเทศอาเซียนจะเป็นแหล่งการค้าแหล่งใหม่ให้แก่ฟิลิปปินส์ และจะมีการขยายความร่วมมือด้านการทหารของอาเซียน (ซึ่งข้อหลังนี้ไม่ได้รับการตอบรับจากสมาชิก)



บทบาทของฟิลิปปินส์ในอาเซียน



ในระยะแรกของการเป็นสมาชิกอาเซียน ฟิลิปปินส์ค่อนข้างมีความความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับอาเซียนอยู่ในระดับต่ำ แม้ว่าฟิลิปปินส์จะเริ่มปรับนโยบายทางเศรษฐกิจโดยการลดการพึ่งพาสหรัฐฯ และพัฒนาประเทศในลักษณะพึ่งตนเอง ภายใต้นโยบาย “เอเชียนิยม” ความเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์กับอาเซียนที่เห็นได้ชัด เกิดขึ้นในปี 2519 เมื่อฟิลิปปินส์ประกาศใช้ยุทธศาสตร์การส่งออกใหม่ (National Export Strategy) โดยมุ่งบุกเบิกตลาดใหม่ รวมทั้งเร่งหาแหล่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอื่นๆ เพื่อใช้ถ่วงดุลอิทธิพลของสหรัฐฯ และญี่ปุ่น ในระดับภูมิภาค ฟิลิปปินส์ได้มุ่งเข้าหาอาเซียน โดยคาดหวังที่จะได้รับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระยะยาว แต่ด้วยเหตุผลที่ฟิลิปปินส์ผูกพันกับมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอย่างสหรัฐมาเป็นเวลานาน ประกอบกับสถานการณ์การเมืองในภูมิภาคไม่มีเสถียรภาพมั่นคงมากนัก จึงทำให้ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศสมาชิกอาเซียนในระยะแรก (2510-2520) ไม่ประสบผลเท่าที่ควร แต่ต่อมาในช่วงก่อนปี 2540 ได้มีการขยายตัวทางการค้ากับประเทศอาเซียนเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 6.5 และมีการลงทุนจากกลุ่มอาเซียน เช่น ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์ (Export Processing Zone และ Freeport Zone)[3]



ในด้านบทบาทการเป็นประธานอาเซียน ประเทศฟิลิปปินส์ได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั���งที่ 3 เมื่อวันที่ 14-15 ธันวาคม 2530 ที่กรุงมะนิลา และครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 11-14 มกราคม 2540 ที่เมืองเซบู ทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ แต่เนื่องจากมีเหตุการณ์พายุใต้ฝุ่นพัดผ่านจึงทำให้การประชุมจำเป็นต้องเลื่อนออกไปเป็นประชุมในวันที่ 10-14 ธันวาคม ในปีเดียวกันแทน จากผลของการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 12 นี้ ประเทศฟิลิปปินส์ในฐานะประธานอาเซียนได้เร่งผลักดันให้มีการหารือเกี่ยวกับการเร่งการก่อตั้งประชาคมอาเซียนให้เร็วขึ้น โดยนายอัลเบอร์โท โรมูโล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศฟิลิปปินส์ ได้กล่าวย้ำถึงความร่วมมือในการจัดตั้งอาเซียนเป็นประชาคมแห่งความมั่นคง ประชาคมทางเศรษฐกิจ และประชาคมทางสังคมและวัฒนธรรม เพื่อสร้างครอบครัวใหญ่ที่แบ่งปันกันและเอาใจใส่รักใคร่กัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (มาเลย์) 1: [สำเนา]
คัดลอก!


Ahli-ahli ASEAN,




.425 [2] Selepas kemerdekaan Amerika Syarikat. Filipina mempunyai dasar yang liberal dan populariti di seluruh Amerika Syarikat. Serta menghantar tentera ke perang dalam Perang Dingin, seperti Perang Vietnam. Dan Perang KoreaSEATO untuk Fight Terhadap Komunisme Dibuat dalam fasa pertama Dasar luar Filipina masih berdiri di atas asas anti-komunisme sebagai keutamaan.Dibuat, Filipina, untuk beralih kepada diplomasi dengan China. Dan mendapatkan jaminan tentang kestabilan politik dan ekonomi di negara ini. Dengan mengambil peranan yang aktif dalam pertubuhan serantau seperti ASEAN
.


Walaupun Filipina adalah satu pengalaman yang miskin untuk kerjasama antarabangsa pada masa lalu (dan akan datang Persatuan Sukarelawan Philip Doe), tetapi ia masih mempunyai niat untuk menjadi ahli ASEAN.Dan adalah menjadi sebahagian daripada rantau Asia Tenggara di Filipina. Sering dilihat oleh ahli-ahli ASEAN yang ia akan menjadi lebih di Asia Tenggara. Kerana budayaFilipina juga percaya bahawa menyertai ahli-ahli ASEAN untuk membantu mengekalkan kestabilan, kedua-dua ekonomi dan ketenteraan di Filipina. Untuk bersedia untuk Amerika Syarikat untuk menarik balik tentera Amerika dan ditinggalkan pengkalan tentera di Filipina.Dengan perdagangan ASEAN merupakan sumber sumber-sumber baru ke Filipina. Dan akan mempunyai kerjasama berkembang di ASEAN. (Yang terakhir ini tidak diterima daripada ahli)
.


Peranan Filipina dalam ASEAN



.Pada peringkat awal menjadi ahli ASEAN. Hubungan agak ekonomi Filipina dengan ASEAN adalah rendah. Walaupun Filipina akan mula menyesuaikan diri dasar ekonomi untuk mengurangkan pergantungan kepada Amerika Syarikat.Di bawah dasar "gaya Asia" perubahan dalam hubungan ekonomi di Filipina dengan ASEAN nampaknya berlaku di 2519 apabila Filipina mengumumkan strategi eksport baru (strategi eksport negara).Termasuk dipercepatkan manfaat ekonomi sumber lain. Untuk mengimbang balas pengaruh Amerika Syarikat dan Jepun di rantau ini. Filipina, pendekatan ASEAN Dijangka menerima manfaat ekonomi dalam jangka masa panjang.Ditambah pula dengan ketidakstabilan politik di rantau ini lebih stabil. Membuat hubungan ekonomi dengan negara-negara ASEAN dalam fasa pertama (2510-2520) tidak mengalami cukup. Tetapi kemudian dalam tempoh sebelum 2540.6 peratus.5 dan pelaburan dari negara-negara Asia seperti Thailand, Singapura, Malaysia banyak, terutamanya dalam meningkatkan ekonomi di Filipina (zon pemprosesan eksport dan zon Freeport) [3]



.Dalam peranannya sebagai Pengerusi ASEAN. Filipina untuk menjadi tuan rumah Sidang Kemuncak ASEAN No 3 pada 14-15 Disember 2530 di Manila, dan No 12 pada 11-14 Januari 2540 di Cebu.Tetapi kerana acara itu taufan bertiup melalui, membuat keperluan untuk menangguhkan mesyuarat pada 10-14 Disember pada tahun yang sama. Hasil daripada ini, Sidang Kemuncak ASEAN ke-12.Oleh Menteri Encik Alberto Romulo Hal Ehwal Luar Filipina. Mengulangi kerjasama yang dalam penubuhan kestabilan komuniti ASEAN. Ekonomi masyarakat Dan masyarakat, sosial dan kebudayaan
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: