วิวัฒนาการของการโฆษณาไทยตั้งแต่อดีตจนถึง พ.ศ.2453นั้น แบ่งออกได้เป็น 2 การแปล - วิวัฒนาการของการโฆษณาไทยตั้งแต่อดีตจนถึง พ.ศ.2453นั้น แบ่งออกได้เป็น 2 จีน วิธีการพูด

วิวัฒนาการของการโฆษณาไทยตั้งแต่อดีต

วิวัฒนาการของการโฆษณาไทยตั้งแต่อดีตจนถึง พ.ศ.2453นั้น แบ่งออกได้เป็น 2 ยุค
คือ ยุคป่าวประกาศและยุคบุกเบิกในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร โดยแต่ละยุคมีลักษณะของการโฆษณาดังนี้
1. ยุคป่าวประกาศ เริ่มตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยุคนี้เป็นยุคที่ยังไม่มีสื่อมวลชนสมัยใหม่ ผู้คนในสังคมยังใช้การสื่อสารด้วยคำพูดเป็นหลัก ดังนั้นการโฆษณาขายสินค้าและบริการของเหล่าพ่อค้าแม่ค้าในตลาด หรือชุมนุมชนต่างๆ จึงใช้วิธีการร้องตะโกนป่าวประกาศ ร้องตะโกนให้ผู้คนที่ผ่านไปมาได้รู้ถึงสินค้าและบริการที่เสนอขาย เนื้อหาของการโฆษณาเป็นการบรรยายทั่วๆไป ถึงสรรพคุณและราคาของสินค้า นอกจากการโฆษณาป่าวประกาศนี้แล้ว ในส่วนของการโฆษณาในลักษณะอื่นๆ สันนิษฐานว่า ปลายๆยุคน่าจะเริ่มมีการใช้ป้ายชื่อร้านที่สืบเนื่องมาจากการเข้ามาตั้งหลักฐานของพ่อค้าชาวตะวันตก
2.ยุคบุกเบิกในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร เริ่มจากปลายสมัยรัชกาลที่ 3 จนถึง พ.ศ.2453 ปีสุดท้ายสมัยรัชกาลที่ 5 ยุคนี้การพิมพ์เริ่มแพร่หลาย เกิดหนังสือพิมพ์ฉบับแรกคือ บางกอกรีคอร์เดอร์ขึ้น เป็นผลให้มีการโฆษณาในหนังสือพิมพ์เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในสังคมไทย ในระยะแรกการโฆษณาในหนังสือพิมพ์และนิตยสารยังไม่มีมากเท่าใดนัก เพราะการโฆษณาเป็นของใหม่ ผู้คนในสังคมจำนวนมากยังไม่เข้าใจและเห็นความสำคัญของการโฆษณา จวบจนในสมัยรัชกาลที่ 5 การโฆษณาในหนังสือพิมพ์และนิตยสารจึงเริ่มมีมากขึ้น หนังสือพิมพ์และนิตยสารแทบทุกฉบับรับลงโฆษณาและประกาศแจ้งความ การดำเนินกิจกรรมด้านการโฆษณาส่วนใหญ่อยู่ในมือของชาวตะวันตก ผู้เป็นทั้งเจ้าของสื่อและผู้ลงโฆษณาหลักในขณะนั้น ในช่วงกลางและปลายรัชกาลและการโฆษณาไทยจึงเริมมีวิวัฒนาการขึ้นในด้านรูปแบบและเนื้อหา คนไทยเริ่มเข้ามาเกี่ยวข้องกับการโฆษณาเพิ่มขึ้น ทั้งในแง่ของการเป็นเจ้าของสื่อและผู้โฆษณา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (จีน) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วิวัฒนาการของการโฆษณาไทยตั้งแต่อดีตจนถึง พ.ศ.2453นั้น แบ่งออกได้เป็น 2 ยุค คือ ยุคป่าวประกาศและยุคบุกเบิกในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร โดยแต่ละยุคมีลักษณะของการโฆษณาดังนี้ 1. ยุคป่าวประกาศ เริ่มตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยุคนี้เป็นยุคที่ยังไม่มีสื่อมวลชนสมัยใหม่ ผู้คนในสังคมยังใช้การสื่อสารด้วยคำพูดเป็นหลัก ดังนั้นการโฆษณาขายสินค้าและบริการของเหล่าพ่อค้าแม่ค้าในตลาด หรือชุมนุมชนต่างๆ จึงใช้วิธีการร้องตะโกนป่าวประกาศ ร้องตะโกนให้ผู้คนที่ผ่านไปมาได้รู้ถึงสินค้าและบริการที่เสนอขาย เนื้อหาของการโฆษณาเป็นการบรรยายทั่วๆไป ถึงสรรพคุณและราคาของสินค้า นอกจากการโฆษณาป่าวประกาศนี้แล้ว ในส่วนของการโฆษณาในลักษณะอื่นๆ สันนิษฐานว่า ปลายๆยุคน่าจะเริ่มมีการใช้ป้ายชื่อร้านที่สืบเนื่องมาจากการเข้ามาตั้งหลักฐานของพ่อค้าชาวตะวันตก 2.ยุคบุกเบิกในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร เริ่มจากปลายสมัยรัชกาลที่ 3 จนถึง พ.ศ.2453 ปีสุดท้ายสมัยรัชกาลที่ 5 ยุคนี้การพิมพ์เริ่มแพร่หลาย เกิดหนังสือพิมพ์ฉบับแรกคือ บางกอกรีคอร์เดอร์ขึ้น เป็นผลให้มีการโฆษณาในหนังสือพิมพ์เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในสังคมไทย ในระยะแรกการโฆษณาในหนังสือพิมพ์และนิตยสารยังไม่มีมากเท่าใดนัก เพราะการโฆษณาเป็นของใหม่ ผู้คนในสังคมจำนวนมากยังไม่เข้าใจและเห็นความสำคัญของการโฆษณา จวบจนในสมัยรัชกาลที่ 5 การโฆษณาในหนังสือพิมพ์และนิตยสารจึงเริ่มมีมากขึ้น หนังสือพิมพ์และนิตยสารแทบทุกฉบับรับลงโฆษณาและประกาศแจ้งความ การดำเนินกิจกรรมด้านการโฆษณาส่วนใหญ่อยู่ในมือของชาวตะวันตก ผู้เป็นทั้งเจ้าของสื่อและผู้ลงโฆษณาหลักในขณะนั้น ในช่วงกลางและปลายรัชกาลและการโฆษณาไทยจึงเริมมีวิวัฒนาการขึ้นในด้านรูปแบบและเนื้อหา คนไทยเริ่มเข้ามาเกี่ยวข้องกับการโฆษณาเพิ่มขึ้น ทั้งในแง่ของการเป็นเจ้าของสื่อและผู้โฆษณา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (จีน) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Mama, PapaMama, PapaMama, PapaMama, PapaMama, PapaMama, PapaMama, PapaMama, PapaMama, Papa
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: