การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการ การแปล - การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการ อังกฤษ วิธีการพูด

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ของพนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๒) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๓) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และ ๔) เพื่อศึกษาแนวทางการนำหลักอิทธิบาท ๔ มาพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดำเนินการวิจัยโดยการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods) ซึ่งประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ และ คณะผู้บริหารเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน มีจำนวนทั้งสิ้น 125 คน โดยเก็บจากทุกหน่วยของประชากร และเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และทำการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์ (Chi – Square Test) ( ) ในส่วนของข้อคำถามปลายเปิดที่แสดงปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยทำการจัดกลุ่มตามประเด็นที่กำหนดไว้ในแบบสอบถามปลายเปิด จากนั้นจะทำการวิเคราะห์ โดยใช้การแจกแจงความถี่ (Frequency) และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยจะทำการจัดกลุ่มข้อมูลตามสาระสำคัญของประเด็นการสัมภาษณ์ จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา

ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับความคิดเห็นทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน พบว่า พนักงานเทศบาลผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก (µ = ๓.๘๕) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีระดับความคิดเห็นในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยสูงสุด (µ = 3.95) ในด้านความรู้และด้านคุณธรรม ส่วนค่าเฉลี่ยต่ำสุด (µ = 3.62) ในด้านการมีภูมิคุ้มกันที่ดี
2. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ การทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์ความแตกต่างตามการจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศและระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ สถานภาพ รายได้ต่อเดือนและระยะเวลาในการทำงาน พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3. ผลการศึกษาปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน สรุปได้ว่า การทำงานต่างๆ ของพนักงานยังไม่มีการวางแผนเท่าที่ควร เพราะบางครั้งมีงานอื่นเข้ามาแทรก จึงทำให้ไม่มีเวลาในการวางแผนกลยุทธ์ในการทำงาน และบางคนขาดความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน รวมถึงบางคนขาดความมีน้ำใจต่อเพื่อร่วมงานด้วย ซึ่งควรมีการวางแผนการทำงานทั้งในเชิงรุกและเชิงกลยุทธ์ รวมทั้งการฝึกอบรมความรู้ต่างๆ เพื่อการพัฒนาทักษะในการทำงานและการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ความมีน้ำใจในการทำงานร่วมกันด้วย
4. ผลการศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้ให้ข้อมูลสำคัญส่วนใหญ่เน้นในเรื่องของการดำเนินชีวิตด้านเศรษฐกิจพอเพียงอย่างรู้คุณค่าของการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและประหยัดที่สุด รู้จักการใช้เหตุผลในการทำงานเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เพื่อทำให้การทำงานมีคุณภาพ รวมถึงการใช้ความรู้และคุณธรรมในการเสริมสร้างการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ของพนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๒) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๓) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และ ๔) เพื่อศึกษาแนวทางการนำหลักอิทธิบาท ๔ มาพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดำเนินการวิจัยโดยการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods) ซึ่งประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ และ คณะผู้บริหารเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน มีจำนวนทั้งสิ้น 125 คน โดยเก็บจากทุกหน่วยของประชากร และเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และทำการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์ (Chi – Square Test) ( ) ในส่วนของข้อคำถามปลายเปิดที่แสดงปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยทำการจัดกลุ่มตามประเด็นที่กำหนดไว้ในแบบสอบถามปลายเปิด จากนั้นจะทำการวิเคราะห์ โดยใช้การแจกแจงความถี่ (Frequency) และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยจะทำการจัดกลุ่มข้อมูลตามสาระสำคัญของประเด็นการสัมภาษณ์ จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับความคิดเห็นทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน พบว่า พนักงานเทศบาลผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก (µ = ๓.๘๕) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีระดับความคิดเห็นในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยสูงสุด (µ = 3.95) ในด้านความรู้และด้านคุณธรรม ส่วนค่าเฉลี่ยต่ำสุด (µ = 3.62) ในด้านการมีภูมิคุ้มกันที่ดี 2. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ การทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์ความแตกต่างตามการจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศและระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ สถานภาพ รายได้ต่อเดือนและระยะเวลาในการทำงาน พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3. ผลการศึกษาปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานเทศบาลตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน สรุปได้ว่า การทำงานต่างๆ ของพนักงานยังไม่มีการวางแผนเท่าที่ควร เพราะบางครั้งมีงานอื่นเข้ามาแทรก จึงทำให้ไม่มีเวลาในการวางแผนกลยุทธ์ในการทำงาน และบางคนขาดความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน รวมถึงบางคนขาดความมีน้ำใจต่อเพื่อร่วมงานด้วย ซึ่งควรมีการวางแผนการทำงานทั้งในเชิงรุกและเชิงกลยุทธ์ รวมทั้งการฝึกอบรมความรู้ต่างๆ เพื่อการพัฒนาทักษะในการทำงานและการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ความมีน้ำใจในการทำงานร่วมกันด้วย
4. ผลการศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้ให้ข้อมูลสำคัญส่วนใหญ่เน้นในเรื่องของการดำเนินชีวิตด้านเศรษฐกิจพอเพียงอย่างรู้คุณค่าของการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและประหยัดที่สุด รู้จักการใช้เหตุผลในการทำงานเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เพื่อทำให้การทำงานมีคุณภาพ รวมถึงการใช้ความรู้และคุณธรรมในการเสริมสร้างการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The objectives of this study were 1) to study the opinions on the quality of life in the working principles of economic self-sufficiency. Employee municipal tunnel Mueang Lamphun 2) to study the relationship between personal factors to comment on the quality of life in the working principles of economic self-sufficiency 3) to study the problems and suggestions about. quality of life in the working principles of economic self-sufficiency, and 4) to study the main navigation influence THB 4 to improve the lives of working principles of economic self-sufficiency. Research conducted by research Mixed (Mixed Methods), which population and sample used in this study were employees municipal tunnel and administrative district Tunnel District, Lamphun Province totaled 125 patients were collected from all sectors of the population. Data were collected using a questionnaire and (Questionnaire) and analyzed using the software package for social science research. To determine the frequency (Frequency), percentage (Percentage) Average (Mean) and standard deviation (Standard Deviation) and test hypothesis by chi-square (Chi - Square Test) () in equity. The open-ended questions that show the problems. And suggestions The researchers grouped the issues set out in an open-ended questionnaire. Then it analyzes By using frequency (Frequency) and data from interviews. The researcher will gather data on the essence of the interview. Then, the content data analysis results showed that : 1. The level of quality of life in the working principles of economic self-sufficiency of municipal employees tunnel Mueang Lamphun municipal employees found that respondents with a review of quality of life in the working principles of economic self-sufficiency. The total average was high (μ = 3.85), considering it was found that all sides have a comment on the quality of life in the working principles of economic self-sufficiency. At a high level Highest mean (μ = 3.95) in terms of knowledge and virtue. The lowest mean (μ = 3.62) in terms of a better immunity 2. The relationship between individual factors on the quality of life in the working principles of economic self-sufficiency of municipal employees tunnel. To test this hypothesis by analyzing the differences according to the classification by personal factors that gender and education level. Correlated with the quality of life in the working principles of economic self-sufficiency. The personal factors including age, marital status, monthly income and the duration of the work was not related to the quality of life in the working principles of economic self-sufficiency 3. Study the problems And suggestions on how to improve the lives of working principles of economic self-sufficiency of the tunnel Muang Lamphun district staff concluded that the various functions. Employee has no plans to do that. Sometimes there is more to intervene. Therefore there is no time to plan a strategy to work. And some lack of knowledge Specific skills Including some lack of kindness to work with. The work plan should include both proactive and reactive strategies. Including training knowledge. To develop the skills to work and to promote moral ethics. Kindness in collaboration with four. The qualitative study found that the most important information on the subject of life, economic sufficiency knows the value of a resource efficient and economical. Know the reason for the work to strengthen the immune system as well. To make the work with Including the use of knowledge and virtue in enhancing the quality of life based on economic efficiency.






การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The objectives of this research are: 1) to study the quality of life in working according to the sufficiency economy. Employees of the municipal tunnel at Chulalongkorn Hospital. 2).3) to identify the problems and suggestions about the development of quality of work life according to the principle of sufficiency economy and 4) to study the application of the principle of the. 4. To improve the quality of life in working according to the sufficiency economy.(Mixed Methods) which population consisted of employees and executives in the tunnel in tunnel. Mueang Lamphun, there were 125 people by collecting from all units of the population.(Questionnaire). Data were analyzed by using statistical package for the social science research to find the item frequency (Frequency) percentage (Percentage). Mean (Mean) and standard deviation (Standard Deviation).(Chi - Square Test) () on the part of an open-ended questions that show the problems and recommendations, the researcher grouped according to the specified in the query open ends. Then to analyze frequency (Frequency).The researcher will be grouped data according to the essence of the interview. Then analyzed the content validity of
.The results showed that 1

.The opinion of improving the quality of life in working according to the principle of economy of the Municipal Personnel tunnel District District, province. Found.Total average at a high level (that = 3.In 1917) when the aspect that all the opinions in the development of quality of life in work according to the principle of economy at a high level. The highest mean (that = 3.95) in terms of knowledge and morality, while the lowest (= 3 tracks.62) on the immunity 2 good
.A study of the relationship between personal factors and quality of life in working according to the principle of sufficiency economy of employees in the tunnel. Hypothesis testing by analysis of differences according to classification according to personal factors.Gender and education. Related with the development of quality of work life according to the sufficiency economy. The personal factors as age, marital status, income, and duration of work.
.3.The study problems. And suggestions about the development of quality of work life according to the principle of economy of the Municipal Personnel tunnel District District, province. Concluded that the work activities.Because sometimes there is another job on insert. Therefore, there is no time for strategic planning in the work, and some lack of knowledge and skill talents. Including some lack of kindness to work with.Including training knowledge. To develop skills in working and promoting virtue and ethics. Generosity in collaboration with
.4.The qualitative study showed that most focus on the key information of living in sufficient participant of using the resources and the most economical.To make the work quality. Including the use of knowledge and morality in the development of quality of life according to the principle of เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่าง effective
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: