ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่สมัยก่ การแปล - ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่สมัยก่ อังกฤษ วิธีการพูด

ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่ประ

ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่
ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่
สมัยก่อนที่การแพทย์ยังพึ่งได้บ้างไม่ได้บ้าง เวลามีเด็กเกิดใหม่คนไทยเราจะงัดทั้งประเพณี พิธีกรรมความเชื่อออกมาใช้มือเป็นระวิง เพื่อให้เจ้าหนูคนนั้นอยู่รอดปลอดภัยไปจนโตเป็นผู้ใหญ่ เวียดนามเพื่อนบ้านของเราเขาก็มีประเพณีน่ารักๆ แบบนี้เหมือนกัน

ก่อนที่เด็กจะคลอด แม่ของเด็กจะบูชานางฟ้า 12 องค์ ซึ่งเป็นผู้ปกปักษ์รักษาผู้หญิงท้องเพื่อขอพรให้ไม่แพ้ท้อง กินอาหารได้มาก และคลอดลูกออกมาแข็งแรงปลอดภัยทั้งแม่ทั้งลูก ส่วนหมอตำแยก็จะทำพิธีเสี่ยงทายดูว่าเด็กคนนี้จะคลอดออกมาอย่างปลอดภัยหรือเปล่า ถ้าเสี่ยงทายได้ผลร้ายจะได้รีบถวายเครื่องเซ่นแก้เคล็ดกันตั้งแต่เนิ่นๆ

เด็กที่เพิ่งคลอดส่วนหัวมักจะยื่นออกมา พอโตขึ้นหัวถึงจะค่อยๆ ยุบเข้าไป แต่ชาวเวียดนามเชื่อกันว่าเด็กที่หัวแหลมแบบนี้จะสมองทึบ หรือไม่ก็ฉลาดแกมโกง เป็นคนนิสัยไม่มี พอเด็กคลอดออกมาใหม่ๆ พ่อแม่เลยจะอุ้มเด็กขึ้นมาทำท่าเหมือนจะฟาดหัวลงไปกับเสา เป็นการแก้เคล็ดว่าเด็กคนนี้หัวทู่แล้ว 3 วันแรกที่เด็กเพิ่งเกิดชาวเวียดนามจะปิดประตูไม่ยอมให้คนแปลกหน้าเข้าบ้าน เพราะลมหายใจของคนแปลกหน้าเป็นลางร้ายอาจพาโชคร้ายมาสู่แม่และลูก หลังจากคลอดลูกครบ 1 เดือน เวลาแม่เด็กไปตลาด ถ้ามีคนรู้จักให้ขนมหรือผลไม้ แม่เด็กจะต้องเอาขนมพวกนั้นให้กับหมอตำแยเป็นค่าทำคลอด แล้วปิดท้ายด้วยงานฉลองครบ 1 เดือนของเด็ก เพื่อให้เด็กแข็งแรง อายุมั่นขวัญยืน

ชาวเวียดนามถือว่าบ้านไหนมีเด็กเกิดใหม่จะโชคร้ายไป 1 เดือน ต้องแก้เคล็ดด้วยการแขวนใบกระบองเพชรไว้ที่ประตูบ้าน แต่โชคร้ายนี้จะหายไปนับตั้งแต่วันที่ผู้เป็นแม่ลุกขึ้นไปตลาดได้เป็นครั้งแรกหลังจากคลอด

ชาวเวียดนามจะไม่ใช้คำว่าไม่สบายกับเด็กอ่อน เพราะถือว่าเป็นการแช่ง ถ้าเด็กไม่สบาย ผู้ใหญ่จะพูดว่า "เด็กไม่เล่น" แทน ยิ่งคำว่าตายนั้นชาวเวียดนามจะไม่พูดในบริเวณที่มีเด็กอยู่ด้วยเลย ถ้าจำเป็นต้องพูดถึงคนตายก็จะใช้คำว่า "คนๆ นั้นไม่มีประโยชน์อะไรแล้ว" หรือ "คนๆ นั้นจากพ่อแม่ไปแล้ว"

ถ้าหากลูกอ่อนเป็นเด็กเลี้ยงยาก ขี้อ้อน ร้องไห้โยเย เจ็บออดๆ แอดๆ บ่อยครั้ง แสดงว่ามีผีมารบกวน พ่อแม่จะพาเด็กคนนั้นไปขายให้ช่างตีเหล็ก ช่างจะใส่สร้อยข้อมือหรือสร้อยเหล็กไว้ที่ข้อเท้าของเด็กเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของ เชื่อกันว่าผีเวียดนามนั้นกลัวช่างตีเหล็กมาก มันจะไม่กล้ามายุ่งหรือทำอันตรายเด็กที่อยู่ในความปกครองของช่างเหล่านี้ เด็กคนนั้นจะได้แข็งแรง เลี้ยงง่าย โตวันโตคืน

ในกรณีเดียวกัน ถ้าไม่พาไปขายให้ช่างพ่อแม่ก็จะเอาลูกไปขายให้หมอผีประจำหมู่บ้าน แล้วหมอผีก็จะให้ของขวัญบางอย่างกับเด็กไว้ป้องกันภูตผีปีศาจ เช่น เครื่องราง หรือเสื้อสีเหลืองปักรูปมังกร หรือเสื้อเขียนยันต์ไล่ผีไว้ข้างหน้า เด็กจะได้พ้นจากการรบกวนของผีร้าย

ชาวเวียดนามมีความเชื่อเหมือนคนไทยว่า ผีจะมาขโมยเด็กที่สวยงามดูดีมีอนาคตไป เราถึงต้องชมเด็กว่า "น่าเกลียดน่าชัง" ส่วนชาวเวียดนามนั้นจะไม่ตั้งชื่อลูกด้วยคำเป็นมงคล แต่จะใช้คำที่ความหมายไม่ดี มีความหมาย มีความหมายประมาณลูกสุนัข ลูกกรอก ผีจะได้ไม่อยากเอาไปเป็นลูก แต่หลังจากเด็กโตประมาณ 2-3 ขวบ พ่อแม่จึงจะตั้งชื่อที่มีความหมายดีๆ กันอีกครั้ง

ในครอบครัวที่มีความรู้ จะตั้งชื่อเด็กด้วยคำที่หมายถึงความสุข หรือเป็นคำคล้องจองแบบในบทกวี ส่วนในครอบครัวที่ยากจนด้อยการศึกษา มักจะตั้งชื่อลูกให้พ้องเสียงกับชื่อของพ่อหรือลูกคนโต

ในบางบ้านหลังจากตั้งชื่อลูกแล้วพ่อจะเปลี่ยนชื่อตามลูก เพื่อที่พ่อลูกจะได้ใช้ชื่อเดียวกัน โดยมากพ่อจะเปลี่ยนชื่อตามชื่อลูกคนแรก ยกเว้นในกรณีพิเศษจริงๆ คนเป็นพ่อถึงจะเปลี่ยนชื่อตามลูกของเมียคนที่สอง หรือเปลี่ยนชื่อตามลูกบุญธรรม แต่บางคนก็อาจจะเปลี่ยนชื่อตามลูกคนที่อยู่ด้วย เพราะลูกคนอื่นๆ แต่งงานย้ายบ้านไปอยู่ที่อื่นกันหมดแล้ว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่ประเพณีเวียดนามเพื่อเด็กเกิดใหม่สมัยก่อนที่การแพทย์ยังพึ่งได้บ้างไม่ได้บ้าง เวลามีเด็กเกิดใหม่คนไทยเราจะงัดทั้งประเพณี พิธีกรรมความเชื่อออกมาใช้มือเป็นระวิง เพื่อให้เจ้าหนูคนนั้นอยู่รอดปลอดภัยไปจนโตเป็นผู้ใหญ่ เวียดนามเพื่อนบ้านของเราเขาก็มีประเพณีน่ารักๆ แบบนี้เหมือนกันก่อนที่เด็กจะคลอด แม่ของเด็กจะบูชานางฟ้า 12 องค์ ซึ่งเป็นผู้ปกปักษ์รักษาผู้หญิงท้องเพื่อขอพรให้ไม่แพ้ท้อง กินอาหารได้มาก และคลอดลูกออกมาแข็งแรงปลอดภัยทั้งแม่ทั้งลูก ส่วนหมอตำแยก็จะทำพิธีเสี่ยงทายดูว่าเด็กคนนี้จะคลอดออกมาอย่างปลอดภัยหรือเปล่า ถ้าเสี่ยงทายได้ผลร้ายจะได้รีบถวายเครื่องเซ่นแก้เคล็ดกันตั้งแต่เนิ่นๆ เด็กที่เพิ่งคลอดส่วนหัวมักจะยื่นออกมา พอโตขึ้นหัวถึงจะค่อยๆ ยุบเข้าไป แต่ชาวเวียดนามเชื่อกันว่าเด็กที่หัวแหลมแบบนี้จะสมองทึบ หรือไม่ก็ฉลาดแกมโกง เป็นคนนิสัยไม่มี พอเด็กคลอดออกมาใหม่ๆ พ่อแม่เลยจะอุ้มเด็กขึ้นมาทำท่าเหมือนจะฟาดหัวลงไปกับเสา เป็นการแก้เคล็ดว่าเด็กคนนี้หัวทู่แล้ว 3 วันแรกที่เด็กเพิ่งเกิดชาวเวียดนามจะปิดประตูไม่ยอมให้คนแปลกหน้าเข้าบ้าน เพราะลมหายใจของคนแปลกหน้าเป็นลางร้ายอาจพาโชคร้ายมาสู่แม่และลูก หลังจากคลอดลูกครบ 1 เดือน เวลาแม่เด็กไปตลาด ถ้ามีคนรู้จักให้ขนมหรือผลไม้ แม่เด็กจะต้องเอาขนมพวกนั้นให้กับหมอตำแยเป็นค่าทำคลอด แล้วปิดท้ายด้วยงานฉลองครบ 1 เดือนของเด็ก เพื่อให้เด็กแข็งแรง อายุมั่นขวัญยืนชาวเวียดนามถือว่าบ้านไหนมีเด็กเกิดใหม่จะโชคร้ายไป 1 เดือน ต้องแก้เคล็ดด้วยการแขวนใบกระบองเพชรไว้ที่ประตูบ้าน แต่โชคร้ายนี้จะหายไปนับตั้งแต่วันที่ผู้เป็นแม่ลุกขึ้นไปตลาดได้เป็นครั้งแรกหลังจากคลอดชาวเวียดนามจะไม่ใช้คำว่าไม่สบายกับเด็กอ่อน เพราะถือว่าเป็นการแช่ง ถ้าเด็กไม่สบาย ผู้ใหญ่จะพูดว่า "เด็กไม่เล่น" แทน ยิ่งคำว่าตายนั้นชาวเวียดนามจะไม่พูดในบริเวณที่มีเด็กอยู่ด้วยเลย ถ้าจำเป็นต้องพูดถึงคนตายก็จะใช้คำว่า "คนๆ นั้นไม่มีประโยชน์อะไรแล้ว" หรือ "คนๆ นั้นจากพ่อแม่ไปแล้ว"ถ้าหากลูกอ่อนเป็นเด็กเลี้ยงยาก ขี้อ้อน ร้องไห้โยเย เจ็บออดๆ แอดๆ บ่อยครั้ง แสดงว่ามีผีมารบกวน พ่อแม่จะพาเด็กคนนั้นไปขายให้ช่างตีเหล็ก ช่างจะใส่สร้อยข้อมือหรือสร้อยเหล็กไว้ที่ข้อเท้าของเด็กเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของ เชื่อกันว่าผีเวียดนามนั้นกลัวช่างตีเหล็กมาก มันจะไม่กล้ามายุ่งหรือทำอันตรายเด็กที่อยู่ในความปกครองของช่างเหล่านี้ เด็กคนนั้นจะได้แข็งแรง เลี้ยงง่าย โตวันโตคืน
ในกรณีเดียวกัน ถ้าไม่พาไปขายให้ช่างพ่อแม่ก็จะเอาลูกไปขายให้หมอผีประจำหมู่บ้าน แล้วหมอผีก็จะให้ของขวัญบางอย่างกับเด็กไว้ป้องกันภูตผีปีศาจ เช่น เครื่องราง หรือเสื้อสีเหลืองปักรูปมังกร หรือเสื้อเขียนยันต์ไล่ผีไว้ข้างหน้า เด็กจะได้พ้นจากการรบกวนของผีร้าย

ชาวเวียดนามมีความเชื่อเหมือนคนไทยว่า ผีจะมาขโมยเด็กที่สวยงามดูดีมีอนาคตไป เราถึงต้องชมเด็กว่า "น่าเกลียดน่าชัง" ส่วนชาวเวียดนามนั้นจะไม่ตั้งชื่อลูกด้วยคำเป็นมงคล แต่จะใช้คำที่ความหมายไม่ดี มีความหมาย มีความหมายประมาณลูกสุนัข ลูกกรอก ผีจะได้ไม่อยากเอาไปเป็นลูก แต่หลังจากเด็กโตประมาณ 2-3 ขวบ พ่อแม่จึงจะตั้งชื่อที่มีความหมายดีๆ กันอีกครั้ง

ในครอบครัวที่มีความรู้ จะตั้งชื่อเด็กด้วยคำที่หมายถึงความสุข หรือเป็นคำคล้องจองแบบในบทกวี ส่วนในครอบครัวที่ยากจนด้อยการศึกษา มักจะตั้งชื่อลูกให้พ้องเสียงกับชื่อของพ่อหรือลูกคนโต

ในบางบ้านหลังจากตั้งชื่อลูกแล้วพ่อจะเปลี่ยนชื่อตามลูก เพื่อที่พ่อลูกจะได้ใช้ชื่อเดียวกัน โดยมากพ่อจะเปลี่ยนชื่อตามชื่อลูกคนแรก ยกเว้นในกรณีพิเศษจริงๆ คนเป็นพ่อถึงจะเปลี่ยนชื่อตามลูกของเมียคนที่สอง หรือเปลี่ยนชื่อตามลูกบุญธรรม แต่บางคนก็อาจจะเปลี่ยนชื่อตามลูกคนที่อยู่ด้วย เพราะลูกคนอื่นๆ แต่งงานย้ายบ้านไปอยู่ที่อื่นกันหมดแล้ว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Traditional Vietnam for emerging tradition for children born Vietnam

.Early modern medicine also rely on some crazy. When a child is born, we break the traditional Thai The use of มือเป็นระวิง ritual beliefs. So the boy who survived to adulthood.This too!
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: