อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอหนองหญ้าปล้อง อำ การแปล - อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอหนองหญ้าปล้อง อำ อังกฤษ วิธีการพูด

อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีพื้นที่ค

อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอหนองหญ้าปล้อง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นอุทยานแห่งชาติที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ เป็นป่าต้นน้ำของแม่น้ำเพชรบุรีและแม่น้ำปราณบุรี และมีลักษณะเด่นทางธรรมชาติที่สำคัญหลายแห่ง เช่น ทะเลสาบ น้ำตก ถ้ำ หน้าผาที่สวยงาม มีเนื้อที่ประมาณ 1,821,687.84 ไร่ หรือ 2,914.70 ตารางกิโลเมตร
ความเป็นมา : เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จแปรพระราชฐานที่พระราชวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเสด็จที่เขื่อนแก่งกระจาน ได้รับสั่งให้นายถนอม เปรมรัศมี อธิบดีกรมป่าไม้ เข้าเฝ้าเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2522 ได้มีกระแสพระราชดำรัสว่า “เรื่องป่าต้นน้ำ ลำธารของแม่น้ำเพชรบุรี ขอให้เจ้าหน้าที่ดูแลรักษาอย่าให้มีการลักลอบตัดไม้ ถางป่า ทำไร่ในป่าต้นน้ำของแม่น้ำเพชรบุรี เพราะจะทำให้เกิดความแห้งแล้ง แม้จะได้มีการให้สัมปทานป่าแปลงนี้ไปบ้างแล้ว ก็ขอให้ เจ้าหน้าที่ตรวจดูแลการทำไม้ อย่าให้เป็นการทำลายป่าเกิดขึ้น” จากพระราชดำรัสดังกล่าวประกอบกับนโยบายของรัฐบาลตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2522 ที่ให้รักษาป่าไว้โดยการประกาศให้เป็นเขตอุทยานแห่งชาติ
กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้มีคำสั่งที่ 452/2523 ลงวันที่ 6 มีนาคม 2523 ให้นายสามารถ ม่วงไหมทอง นักวิชาการป่าไม้ 4 ไปดำเนินการสำรวจหาข้อมูลเบื้องต้นบริเวณพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธารแม่น้ำ เพชรบุรีเหนือเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ตามหนังสือรายงานการสำรวจ ด่วนที่สุด ที่ กส 0708/จช. 67 ลงวันที่ 15 เมษายน 2523 รายงานว่า บริเวณป่าดังกล่าวเป็นป่าต้นน้ำลำธารของแม่น้ำเพชรบุรีและแม่น้ำปราณบุรี เป็นภูเขาสลับซับซ้อน สภาพป่าสมบูรณ์ มีทิวทัศน์สวยงาม ประกอบด้วยน้ำตก ถ้ำ หน้าผา ทะเลสาบ พันธุ์ไม้มีค่านานาชนิด เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าต่างๆ เช่น เลียงผา วัวแดง กระทิง นก ปลาต่างๆ และช้างป่า ซึ่งเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมือง เหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ เพื่อเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและศึกษาความรู้ด้านต่างๆ ทั้งเป็นการรักษาสภาพป่าให้คงอยู่เป็นสมบัติของชาติถาวรสืบไปดังพระราช ประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

กรมป่าไม้จึงได้เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งได้มีมติการประชุมครั้งที่ 2/2523 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2523 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินบริเวณพื้นที่ป่ายางน้ำกลัดเหนือ และป่ายางน้ำกลัดใต้ในท้องที่ตำบลน้ำกลัดเหนือ กิ่งอำเภอหนองหญ้าปล้อง อำเภอเขาย้อย และตำบลสองพี่น้อง ตำบลแก่งกระจาน อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ครอบคลุมเนื้อที่ 1,548,750 ไร่ หรือ 2,478 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 92 ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2524 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 28 ของประเทศ

ต่อมาคณะอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ของอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้มีหนังสือลงวันที่ 17 ตุลาคม 2525 ถึงนายชวน หลีกภัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอให้อนุรักษ์ป่าห้วยแร่ห้วยไคร้ ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ด้วย กรมป่าไม้ จึงให้ นายสามารถ ม่วงไหมทอง ทำหน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน และนายรุ่งโรจน์ อังกุรทิพากร เจ้าพนักงานป่าไม้ 2 สำรวจหาข้อมูลเบื้องต้น ปรากฏว่า ในบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าสมบูรณ์ดี มีทิวทัศน์สวยงาม มีธรรมชาติที่สวยงาม เช่น น้ำตก ถ้ำ หน้าผา ลานหิน และมีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่ โดยมีอาณาเขตติดต่อกับเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ตามหนังสือรายงานผลการสำรวจ ที่ กส 0713(กจ) /78 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2526 เห็นควรให้ขยายเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานออกไปครอบคลุมพื้นที่ดังกล่าว
กรมป่าไม้จึงได้เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ต่อมาได้มีมติการประชุมครั้งที่ 1/2527 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2527 ให้ขยายเขตอุทยานแห่งชาติให้ครอบคลุมพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งได้มีพระราชกฤษฎีกาขยายเขตอุทยานแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือ และป่ายางน้ำกลัดใต้ ในท้องที่ตำบลแก่งกระจาน ตำบลสองพี่น้อง ตำบลกลัดหลวง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี และตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ครอบคลุมเนื้อที่ 273,125 ไร่ หรือ 437.00 ตารางกิโลเมตร โดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 101 ตอนที่ 194 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2527 รวมเนื้อที่ 1,821,875 ไร่ หรือ2,915 ตารางกิโลเมตร

ต่อมากองบัญชาการทหารสูงสุด และจังหวัดเพชรบุรี ได้ขอเพิกถอนพื้นที่เพื่อสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยแม่เพรียง เนื้อที่ 28 ไร่ 2 งาน และอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง เนื้อที่ 158 ไร่ 2 งาน 64 ตารางวา ซึ่งได้มีพระราชกฤษฎีกาเพิกถอนอุทยานแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือ และป่ายางน้ำกลัดใต้ บางส่วนในท้องที่ตำบลห้วยแม่เพรียง และตำบลป่าเต็ง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เนื้อที่ 187.16 ไร่ หรือ 0.30 ตารางกิโลเมตร โดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 115 ตอนที่ 64 ก ลงวันที่ 24 กันยายน 2541 ทำให้ในปัจจุบันอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานคงเหลือพื้นที่ 1,821,687.84 ไร่ หรือ 2,914.70 ตารางกิโลเมตร


ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะ ภูมิประเทศมีทั้งส่วนที่เป็นพื้นดินและส่วนที่เป็นอ่างเก็บน้ำ มีเนื้อที่ประมาณ 45 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ป่าเหนืออ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน ประกอบด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อนของเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งเป็นเทือกเขาที่เป็นเขตแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศพม่า ยอดสูงสุดได้แก่ เขางะงันนิกยวกตอง สูงประมาณ 1,513 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยเฉลี่ยสูงประมาณ 500 เมตร ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาหินแกรนิต บางแห่งเป็นเขาหินปูน ในหลายแห่งอุดมไปด้วยแร่ฟลูออไรน์ ปกคลุมด้วยป่าดิบชื้นเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเพชรบุรีและแม่น้ำปราณบุรี ลำห้วยสำคัญของแม่น้ำเพชรบุรีที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานได้แก่ ห้วยประโดน ห้วยบางกลอย ห้วยแม่เสลียง ห้วยหินเพิง ห้วยสาริกา ห้วยฝาก ห้วยไผ่ และห้วยสามเขา ลำห้วยที่สำคัญของแม่น้ำปราณบุรีในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ได้แก่ ห้วยคมกฤช ห้วยโสก แม่น้ำสัตว์ใหญ่ ห้วยป่าแดง และห้วยป่าเลา


ลักษณะภูมิอากาศ

สภาพ โดยทั่วไปเป็นป่าดิบชื้น จึงทำให้มีความชื้นสูง ส่วนใหญ่จะมีฝนตกชุก จึงมีอากาศเย็นสบายตลอดปี ไม่ร้อนอบอ้าว ปริมาณน้ำฝนรวมรายปีระหว่าง 986-1,140 มิลลิเมตร

ซึ่งใ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอหนองหญ้าปล้องอำเภอแก่งกระจานจังหวัดเพชรบุรีและอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เป็นอุทยานแห่งชาติที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยมีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์เป็นป่าต้นน้ำของแม่น้ำเพชรบุรีและแม่น้ำปราณบุรีและมีลักษณะเด่นทางธรรมชาติที่สำคัญหลายแห่งเช่นทะเลสาบน้ำตกถ้ำหน้าผาที่สวยงามมีเนื้อที่ประมาณ 1,821,687.84 ไร่หรือ 2,914.70 ตารางกิโลเมตรความเป็นมา: เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จแปรพระราชฐานที่พระราชวังไกลกังวลอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และเสด็จที่เขื่อนแก่งกระจานได้รับสั่งให้นายถนอมเปรมรัศมีอธิบดีกรมป่าไม้เข้าเฝ้าเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2522 ได้มีกระแสพระราชดำรัสว่า "เรื่องป่าต้นน้ำลำธารของแม่น้ำเพชรบุรีขอให้เจ้าหน้าที่ดูแลรักษาอย่าให้มีการลักลอบตัดไม้ถางป่าทำไร่ในป่าต้นน้ำของแม่น้ำเพชรบุรีเพราะจะทำให้เกิดความแห้งแล้งแม้จะได้มีการให้สัมปทานป่าแปลงนี้ไปบ้างแล้วก็ขอให้เจ้าหน้าที่ตรวจดูแลการทำไม้อย่าให้เป็นการทำลายป่าเกิดขึ้น" จากพระราชดำรัสดังกล่าวประกอบกับนโยบายของรัฐบาลตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2522 ที่ให้รักษาป่าไว้โดยการประกาศให้เป็นเขตอุทยานแห่งชาติกองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้มีคำสั่งที่ 452/2523 ลงวันที่ 6 มีนาคม 2523 ให้นายสามารถ ม่วงไหมทอง นักวิชาการป่าไม้ 4 ไปดำเนินการสำรวจหาข้อมูลเบื้องต้นบริเวณพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธารแม่น้ำ เพชรบุรีเหนือเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ตามหนังสือรายงานการสำรวจ ด่วนที่สุด ที่ กส 0708/จช. 67 ลงวันที่ 15 เมษายน 2523 รายงานว่า บริเวณป่าดังกล่าวเป็นป่าต้นน้ำลำธารของแม่น้ำเพชรบุรีและแม่น้ำปราณบุรี เป็นภูเขาสลับซับซ้อน สภาพป่าสมบูรณ์ มีทิวทัศน์สวยงาม ประกอบด้วยน้ำตก ถ้ำ หน้าผา ทะเลสาบ พันธุ์ไม้มีค่านานาชนิด เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าต่างๆ เช่น เลียงผา วัวแดง กระทิง นก ปลาต่างๆ และช้างป่า ซึ่งเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมือง เหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ เพื่อเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและศึกษาความรู้ด้านต่างๆ ทั้งเป็นการรักษาสภาพป่าให้คงอยู่เป็นสมบัติของชาติถาวรสืบไปดังพระราช ประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรมป่าไม้จึงได้เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติซึ่งได้มีมติการประชุมครั้งที่ 2/2523 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2523 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินบริเวณพื้นที่ป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้ในท้องที่ตำบลน้ำกลัดเหนือกิ่งอำเภอหนองหญ้าปล้องอำเภอเขาย้อยและตำบลสองพี่น้องตำบลแก่งกระจานอำเภอท่ายางจังหวัดเพชรบุรีครอบคลุมเนื้อที่ 1,548,750 ไร่หรือ 2,478 ตารางกิโลเมตรให้เป็นอุทยานแห่งชาติโดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 98 ตอนที่ 92 ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2524 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 28 ของประเทศต่อมาคณะอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ของอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้มีหนังสือลงวันที่ 17 ตุลาคม 2525 ถึงนายชวน หลีกภัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอให้อนุรักษ์ป่าห้วยแร่ห้วยไคร้ ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ด้วย กรมป่าไม้ จึงให้ นายสามารถ ม่วงไหมทอง ทำหน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน และนายรุ่งโรจน์ อังกุรทิพากร เจ้าพนักงานป่าไม้ 2 สำรวจหาข้อมูลเบื้องต้น ปรากฏว่า ในบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าสมบูรณ์ดี มีทิวทัศน์สวยงาม มีธรรมชาติที่สวยงาม เช่น น้ำตก ถ้ำ หน้าผา ลานหิน และมีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่ โดยมีอาณาเขตติดต่อกับเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ตามหนังสือรายงานผลการสำรวจ ที่ กส 0713(กจ) /78 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2526 เห็นควรให้ขยายเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานออกไปครอบคลุมพื้นที่ดังกล่าว กรมป่าไม้จึงได้เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติต่อมาได้มีมติการประชุมครั้งที่ 1/2527 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2527 ให้ขยายเขตอุทยานแห่งชาติให้ครอบคลุมพื้นที่ดังกล่าวซึ่งได้มีพระราชกฤษฎีกาขยายเขตอุทยานแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้ในท้องที่ตำบลแก่งกระจานตำบลสองพี่น้องตำบลกลัดหลวงอำเภอท่ายางจังหวัดเพชรบุรีและตำบลหนองพลับอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ครอบคลุมเนื้อที่ 273,125 ไร่หรือ 437.00 ตารางกิโลเมตรโดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 101 ตอนที่ 194 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2527 รวมเนื้อที่ 1,821,875 ไร่ หรือ2, 915 ตารางกิโลเมตรต่อมากองบัญชาการทหารสูงสุด และจังหวัดเพชรบุรี ได้ขอเพิกถอนพื้นที่เพื่อสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยแม่เพรียง เนื้อที่ 28 ไร่ 2 งาน และอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง เนื้อที่ 158 ไร่ 2 งาน 64 ตารางวา ซึ่งได้มีพระราชกฤษฎีกาเพิกถอนอุทยานแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือ และป่ายางน้ำกลัดใต้ บางส่วนในท้องที่ตำบลห้วยแม่เพรียง และตำบลป่าเต็ง อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เนื้อที่ 187.16 ไร่ หรือ 0.30 ตารางกิโลเมตร โดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 115 ตอนที่ 64 ก ลงวันที่ 24 กันยายน 2541 ทำให้ในปัจจุบันอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานคงเหลือพื้นที่ 1,821,687.84 ไร่ หรือ 2,914.70 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศลักษณะ ภูมิประเทศมีทั้งส่วนที่เป็นพื้นดินและส่วนที่เป็นอ่างเก็บน้ำ มีเนื้อที่ประมาณ 45 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ป่าเหนืออ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน ประกอบด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อนของเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งเป็นเทือกเขาที่เป็นเขตแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศพม่า ยอดสูงสุดได้แก่ เขางะงันนิกยวกตอง สูงประมาณ 1,513 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยเฉลี่ยสูงประมาณ 500 เมตร ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาหินแกรนิต บางแห่งเป็นเขาหินปูน ในหลายแห่งอุดมไปด้วยแร่ฟลูออไรน์ ปกคลุมด้วยป่าดิบชื้นเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเพชรบุรีและแม่น้ำปราณบุรี ลำห้วยสำคัญของแม่น้ำเพชรบุรีที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานได้แก่ ห้วยประโดน ห้วยบางกลอย ห้วยแม่เสลียง ห้วยหินเพิง ห้วยสาริกา ห้วยฝาก ห้วยไผ่ และห้วยสามเขา ลำห้วยที่สำคัญของแม่น้ำปราณบุรีในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ได้แก่ ห้วยคมกฤช ห้วยโสก แม่น้ำสัตว์ใหญ่ ห้วยป่าแดง และห้วยป่าเลาลักษณะภูมิอากาศสภาพโดยทั่วไปเป็นป่าดิบชื้นจึงทำให้มีความชื้นสูงส่วนใหญ่จะมีฝนตกชุกจึงมีอากาศเย็นสบายตลอดปีไม่ร้อนอบอ้าวปริมาณน้ำฝนรวมรายปีระหว่าง 986 1,140 มิลลิเมตร ซึ่งใ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจานจังหวัดเพชรบุรีและอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ เช่นทะเลสาบน้ำตกถ้ำหน้าผาที่สวยงามมีเนื้อที่ประมาณ 1,821,687.84 ไร่หรือ 2,914.70 ตารางกิโลเมตรแบ่งปัน
ความเป็นมา: อำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และเสด็จที่เขื่อนแก่งกระจานได้รับสั่งให้นายถนอมเปรมรัศมีอธิบดีกรมป่าไม้เข้าเฝ้าเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2522 ได้มีกระแสพระราชดำรัสว่า "เรื่องป่าต้นน้ำลำธารของแม่น้ำเพชรบุรี ถางป่าทำไร่ในป่าต้นน้ำของแม่น้ำเพชรบุรีเพราะจะทำให้เกิดความแห้งแล้ง ก็ขอให้เจ้าหน้าที่ตรวจดูแลการทำไม้อย่าให้เป็นการทำลายป่าเกิดขึ้น " เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2522
กรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 452/2523 ลงวันที่ 6 มีนาคม 2523 ให้นายสามารถม่วงไหมทองนักวิชาการป่าไม้ 4 เพชรบุรีเหนือเขื่อนแก่งกระจานจังหวัดเพชรบุรีตามหนังสือรายงานการสำรวจด่วนที่สุดที่กส 0708 / จช 67 ลงวันที่ 15 เมษายน 2523 รายงานว่า เป็นภูเขาสลับซับซ้อนสภาพป่าสมบูรณ์มีทิวทัศน์สวยงามประกอบด้วยน้ำตกถ้ำหน้าผาทะเลสาบพันธุ์ไม้มีค่านานาชนิด เช่นเลียงผาวัวแดงกระทิงนกปลาต่างๆและช้างป่าซึ่งเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมือง ซึ่งได้มีมติการประชุมครั้งที่ 2/2523 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2523 กิ่งอำเภอหนองหญ้าปล้องอำเภอเขาย้อยและตำบลสองพี่น้องตำบลแก่งกระจานอำเภอท่ายางจังหวัดเพชรบุรีครอบคลุมเนื้อที่ 1,548,750 ไร่หรือ 2,478 ตารางกิโลเมตรให้เป็นอุทยานแห่งชาติโดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 98 ตอนที่ 92 ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2524 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 28 ของอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้มีหนังสือลงวันที่ 17 ตุลาคม 2525 ถึงนายชวนหลีกภัย ขอให้อนุรักษ์ป่าห้วยแร่ห้วยไคร้ตำบลหนองพลับอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ด้วยกรมป่าไม้จึงให้นายสามารถม่วงไหมทอง และนายรุ่งโรจน์อังกุรทิพากรเจ้าพนักงานป่าไม้ที่ 2 สำรวจหาข้อมูลเบื้องต้นปรากฏว่า มีทิวทัศน์สวยงามมีธรรมชาติที่สวยงามเช่นน้ำตกถ้ำหน้าผาลานหินและมีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่ จังหวัดเพชรบุรีตามหนังสือรายงานผลการสำรวจที่กส 0713 (กจ) / 78 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2526 ต่อมาได้มีมติการประชุมครั้งที่ 1/2527 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2527 และป่ายางน้ำกลัดใต้ในท้องที่ตำบลแก่งกระจานตำบลสองพี่น้องตำบลกลัดหลวงอำเภอท่ายางจังหวัดเพชรบุรีและตำบลหนองพลับอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ครอบคลุมเนื้อที่ 273,125 ไร่หรือ 437.00 ตารางกิโลเมตรโดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 101 ตอนที่ 194 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2527 รวมเนื้อที่ 1,821,875 ไร่หรือ 2,915 และจังหวัดเพชรบุรี เนื้อที่ 28 ไร่ 2 งานและอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดงเนื้อที่ 158 ไร่ 2 งาน 64 ตารางวา และป่ายางน้ำกลัดใต้บางส่วนในท้องที่ตำบลห้วยแม่เพรียงและตำบลป่าเต็งอำเภอแก่งกระจานจังหวัดเพชรบุรีเนื้อที่ 187.16 ไร่หรือ 0.30 ตารางกิโลเมตรโดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 115 ตอนที่ 64 กลงวันที่ 24 กันยายน 2541 1,821,687.84 ไร่หรือ 2,914.70 มีเนื้อที่ประมาณ 45 ตารางกิโลเมตร ยอดสูงสุด ได้แก่ เขางะงันนิกยวกตองสูงประมาณ 1,513 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลางโดยเฉลี่ยสูงประมาณ 500 เมตรส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาหินแกรนิตบางแห่งเป็นเขาหินปูนในหลายแห่งอุดมไปด้วยแร่ฟลูออไรน์ ปกคลุมด้วยป่าดิบชื้นเป็นส่วนใหญ่ ห้วยประโดนห้วยบางกลอยห้วยแม่เสลียงห้วยหินเพิงห้วยสาริกาห้วยฝากห้วยไผ่และห้วยสามเขา ได้แก่ ห้วยคมกฤชห้วยโสกแม่น้ำสัตว์ใหญ่ห้วยป่าแดงและห้วยป่าเลาลักษณะภูมิอากาศสภาพโดยทั่วไปเป็นป่าดิบชื้นจึงทำให้มีความชื้นสูงส่วนใหญ่จะมีฝนตกชุกจึงมีอากาศเย็นสบายตลอดปีไม่ร้อนอบอ้าวปริมาณน้ำฝนรวม รายปีระหว่าง 986-1,140 มิลลิเมตรซึ่งใ


















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอหนองหญ้าปล้องอำเภอแก่งกระจานจังหวัดเพชรบุรีและอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เป็นอุทยานแห่งชาติที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยเป็นป่าต้นน้ำของแม่น้ำเพชรบุรีและแม่น้ำปราณบุรีและมีลักษณะเด่นทางธรรมชาติที่สำคัญหลายแห่งเช่นทะเลสาบน้ำตกถ้ำหน้าผาที่สวยงามมีเนื้อที่ประมาณ 1821687.84 ไร่ค็อค 2914.70 ตารางกิโลเมตร
ความเป็นมา :เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จแปรพระราชฐานที่พระราชวังไกลกังวลอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และเสด็จที่เขื่อนแก่งกระจานได้รับสั่งให้นายถนอมเปรมรัศมีอธิบดีกรมป่าไม้29 ตุลาคม 2522 ได้มีกระแสพระราชดำรัสว่า " เรื่องป่าต้นน้ำลำธารของแม่น้ำเพชรบุรีขอให้เจ้าหน้าที่ดูแลรักษาอย่าให้มีการลักลอบตัดไม้ถางป่าทำไร่ในป่าต้นน้ำของแม่น้ำเพชรบุรีเพราะจะทำให้เกิดความแห้งแล้งก็ขอให้เจ้าหน้าที่ตรวจดูแลการทำไม้อย่าให้เป็นการทำลายป่าเกิดขึ้น " จากพระราชดำรัสดังกล่าวประกอบกับนโยบายของรัฐบาลตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2522
กองอุทยานแห่งชาติกรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 452 / 2523 2523 ลงวันที่ 6 มีนาคมให้นายสามารถม่วงไหมทองนักวิชาการป่าไม้ 4 ไปดำเนินการสำรวจหาข้อมูลเบื้องต้นบริเวณพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธารแม่น้ำจังหวัดเพชรบุรีตามหนังสือรายงานการสำรวจด่วนที่สุดที่กส 0708 / จช .67 ลงวันที่ 15 เมษายน 2523 รายงานว่าบริเวณป่าดังกล่าวเป็นป่าต้นน้ำลำธารของแม่น้ำเพชรบุรีและแม่น้ำปราณบุรีเป็นภูเขาสลับซับซ้อนสภาพป่าสมบูรณ์มีทิวทัศน์สวยงามประกอบด้วยน้ำตกถ้ำหน้าผาทะเลสาบเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าต่างๆเช่นเลียงผาวัวแดงกระทิงนกปลาต่างๆและช้างป่าซึ่งเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองเหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติทั้งเป็นการรักษาสภาพป่าให้คงอยู่เป็นสมบัติของชาติถาวรสืบไปดังพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

กรมป่าไม้จึงได้เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติซึ่งได้มีมติการประชุมครั้งที่ 2 / 2523 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2523 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินบริเวณพื้นที่ป่ายางน้ำกลัดเหนือกิ่งอำเภอหนองหญ้าปล้องอำเภอเขาย้อยและตำบลสองพี่น้องตำบลแก่งกระจานอำเภอท่ายางจังหวัดเพชรบุรีครอบคลุมเนื้อที่ 1548750 ไร่ค็อค 2478 ตารางกิโลเมตรให้เป็นอุทยานแห่งชาติโดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 98 ตอนที่ 92 ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2524 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 28 ของประเทศ

ต่อมาคณะอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้มีหนังสือลงวันที่ 17 ตุลาคม 2525 ถึงนายชวนหลีกภัยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขอให้อนุรักษ์ป่าห้วยแร่ห้วยไคร้ตำบลหนองพลับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ด้วยกรมป่าไม้จึงให้นายสามารถม่วงไหมทองทำหน้าที่หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานและนายรุ่งโรจน์อังกุรทิพากรเจ้าพนักงานป่าไม้ 2 สำรวจหาข้อมูลเบื้องต้นปรากฏว่ามีทิวทัศน์สวยงามมีธรรมชาติที่สวยงามเช่นน้ำตกถ้ำหน้าผาลานหินและมีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่โดยมีอาณาเขตติดต่อกับเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานจังหวัดเพชรบุรีตามหนังสือรายงานผลการสำรวจที่กส 0713 ( กจ ) / 78พฤษภาคม 2526 เห็นควรให้ขยายเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานออกไปครอบคลุมพื้นที่ดังกล่าว
3
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: