อาเซียน มาเลเซีย (Malaysia)ชื่อประเทศ - มาเลเซียที่ตั้ง - ตั้งอยู่ในเข การแปล - อาเซียน มาเลเซีย (Malaysia)ชื่อประเทศ - มาเลเซียที่ตั้ง - ตั้งอยู่ในเข อังกฤษ วิธีการพูด

อาเซียน มาเลเซีย (Malaysia)ชื่อประเ

อาเซียน มาเลเซีย (Malaysia)

ชื่อประเทศ - มาเลเซีย
ที่ตั้ง - ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน คือ มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ประกอบด้วย11รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ และปะลิส มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว (กาลิมันตัน) ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาห์ และซาราวัก นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก 3เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน


พื้นที่ - 128,430 ตารางไมล์ (329,758 ตารางกิโลเมตร)
เมืองหลวง - กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)
เมืองราชการ - เมืองปุตราจายา (Putrajaya)
ภูมิอากาศ - ร้อนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
ประชากร 26.24 ล้านคน (ปี 2549)
ภาษา มาเลย์ (Bahasa Malaysia เป็นภาษาราชการ) อังกฤษ จีน ทมิฬ
ศาสนา อิสลาม (ศาสนาประจำชาติ ร้อยละ 60.4) พุทธ (ร้อยละ 19.2) คริสต์ (ร้อยละ 11.6) ฮินดู (ร้อยละ 6.3) อื่น ๆ (ร้อยละ 2.5)
หน่วยเงินตรา ริงกิตมาเลเซีย (ประมาณ 3.20 ริงกิต /1 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 10.42 บาท/1 ริงกิต)
ระบอบการเมือง ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy)
ระบบการปกครอง
(1) สหพันธรัฐ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดี (Yang-diPertuan Agong) เป็นประมุข ซึ่งมาจากการเลือกตั้งจากเจ้าผู้ปกครองรัฐ9 แห่ง (ยะโฮร์ ตรังกานู ปะหัง สลังงอร์ เกดะห์ กลันตัน เนกรีเซมบิลัน เประ และปะลิส) และผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันขึ้นดำรงตำแหน่ง วาระละ 5 ปี
(2) นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลสหพันธรัฐ และมุขมนตรีแห่งรัฐ (Menteri Besar ในกรณีที่มีเจ้าผู้ปกครองรัฐ หรือChief Minister ในกรณีที่ไม่มีเจ้าผู้ปกครองรัฐ) เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งรัฐ
ประมุขสมเด็จพระราชาธิบดี Al-Wathiqu Billah Tuanku Mizan Zainal Abidin ibni Al-Marhum Sultan Mahmud Al-Muktafi Billah Shah จากรัฐตรังกานู ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 13 ของมาเลเซีย
(ตั้งแต่วันที่ 13 ธันวาคม 2549)
การเมืองการปกครอง
การเมือง
พรรค UMNO มีแนวนโยบายบริหารประเทศเน้นชาตินิยมแต่ไม่รุนแรง สนับสนุนชาวมาเลย์ให้มีสิทธิในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจ แนวนโยบายในการบริหารและพัฒนาประเทศหลัก ๆ สรุปได้ดังนี้
1. ดำเนินนโยบายอย่างเป็นอิสระไม่ฝักใฝ่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด โดยเฉพาะประเทศตะวันตก
2. พยายามเข้าไปมีบทบาทนำในอาเซียน และกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะกลุ่มประเทศมุสลิม เพื่อเป็นพลังต่อรองกับประเทศตะวันตกในเวทีระหว่างประเทศ
3. พัฒนาการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยโดยไม่ยึดติดกับรูปแบบของประเทศตะวันตกมีแนวดำเนินการของตนเองและให้ความสำคัญต่อเรื่องความมั่นคงภายในประเทศเป็นสำคัญ
เศรษฐกิจการค้า
เศรษฐกิจ มาเลเซียมีนโยบายทางเศรษฐกิจดังต่อไปนี้
1) เปิดรับการค้า การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากตะวันตก เพื่อพัฒนาประเทศไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2563 (Vision 2020) ตามที่อดีตนายกรัฐมนตรี ดร.มหาธีร์ บิน โมฮัมหมัดตั้งเป้าหมายไว้
2) ใช้นโยบายการเมืองนำเศรษฐกิจเพื่อนำมาซึ่งผลประโยชน์และโอกาสทางการค้าแก่ประเทศ
3) ขยายการติดต่อด้านเศรษฐกิจและการค้ากับประเทศกำลังพัฒนาเพื่อลดการพึ่งพาตลาดสหรัฐฯ และยุโรป อาทิ มาเลเซียในฐานะประธานองค์การการประชุมอิสลาม (Organisation of Islamic Conference – OIC) ให้ความสำคัญกับการรวมตัวทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก OIC (รวม 57 ประเทศ) โดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ธนาคารอิสลาม การศึกษา และการท่องเที่ยว
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซีย
1. ด้านการทูต
ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับมาเลเซียเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2500 เอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์คนปัจจุบันคือ นายปิยวัชร นิยมฤกษ์ ซึ่งเข้ารับตำแหน่งเมื่อเดือนมีนาคม 2550 นอกจากนี้ ไทยยังมีสถานกงสุลใหญ่ในมาเลเซีย 2แห่ง (สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองปีนัง และสถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู) และมีสถานกงสุลประจำเกาะลังกาวี (ซึ่งมีดาโต๊ะ ชาซรีล เอสเคย์ บิน อับดุลลาห์ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นหัวหน้าสำนักงาน) สำหรับหน่วยงานของส่วนราชการต่าง ๆ ซึ่งตั้งสำนักงานอยู่ภายใต้สถานเอกอัครราชทูตฯ ได้แก่ สำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ สำนักงานแรงงาน ส่วนหน่วยงานของไทยอื่นๆ ที่ตั้งสำนักงานในมาเลเซียคือการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริษัทการบินไทย สำหรับหน่วยงานของมาเลเซียในไทยได้แก่ สถานเอกอัครราชทูตมาเลเซีย (เอกอัครราชทูตมาเลเซียคนปัจจุบันคือ ดาโต๊ะ ชารานี บิน อิบราฮิม) และสถานกงสุลใหญ่มาเลเซียประจำจังหวัดสงขลา
2. ด้านการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซียได้พัฒนาแน่นแฟ้นจนมีความใกล้ชิดกันมาก เนื่องจากทั้งสองประเทศมีผลประโยชน์ร่วมกันหลายประการ การแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับต่าง ๆ ทั้งระดับพระราชวงศ์ชั้นสูง รัฐบาล และเจ้าหน้าที่ ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เป็นไปอย่างสม่ำเสมอ แต่แม้ว่าสองฝ่ายจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกัน ก็ยังคงมีประเด็นปัญหาในความสัมพันธ์ ซึ่งต้องร่วมมือกันแก้ไข อาทิ การปักปันเขตแดนทางบก บุคคลสองสัญชาติ การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นต้น
นโยบายของไทยต่อมาเลเซียเน้นมุ่งส่งเสริมความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน และสร้างพื้นฐานที่เข้มแข็งให้ความสัมพันธ์ทุกระดับงอกงามอยู่บนพื้นฐานของการใช้เหตุผล เคารพซึ่งกันและกันในฐานะประเทศเพื่อนบ้านที่ดี เพราะเหตุการณ์ในประเทศหนึ่งย่อมจะส่งผลเกื้อหนุนหรือกระทบต่ออีกประเทศหนึ่งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
3. ด้านเศรษฐกิจ
• ด้านการค้า ในปี 2550 การค้าไทย-มาเลเซียมีมูลค่า 16,408 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยไทยขาดดุลการค้า 826.50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินค้าส่งออกของไทยที่สำคัญ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า ยางพารา สินค้านำเข้าจากมาเลเซียที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมันดิบและแร่เชื้อเพลิง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์
• ด้านการลงทุน ในปี 2550 นักลงทุนมาเลเซียได้รับอนุมัติจาก BOI จำนวน 33 โครงการ (จาก 38 โครงการที่ยื่นขอ) คิดเป็นมูลค่า 11,566 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 53.6 ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนด้านอุปกรณ์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
• ด้านการท่องเที่ยว ในปี 2550 นักท่องเที่ยวมาเลเซียมาไทย 1.2 ล้านคน และมีนักท่องเที่ยวไทยไปมาเลเซียประมาณ 600,000คน (สถิติในช่วงเดือน ม.ค. - มิ.ย. 2550)
4. สังคมและวัฒนธรรม
• ด้านสังคม ไทยกับมาเลเซียมีความใกล้ชิดกันในระดับท้องถิ่น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ASEAN Malaysia (Malaysia)

country-Malaysia
.Location-located in the Equator region consists of two parts: the land of West Malaysia. Located on the Malay Peninsula, consists of 11 States, Kuala Pahang salang ngo. Melaka Johor-Jambi nekri Lanta Terengganu, Penang, Kelantan pre-da. East Malaysia Located on the island of Borneo (Kalimantan), consisting of 2 State of Sabah and Sarawak are. There are also administrative divisions under three federal territories: Kuala Lumpur (capital city) Putrajaya City (City Government)

Area-128430 square miles (329758 square kilometers) in the capital Kuala Lumpur
(Kuala Lumpur)-
City Government-city of Putrajaya. (Putrajaya)
climate-hot humid The average temperature of 28° c
26.24 million population (year 2549 (2006))
.Malay language (Bahasa Malaysia as a public language), English, Chinese, Tamil,
Islam (60.4 per cent national religion) Buddhism (19.2 per cent) Christianity (11.6 per cent), the Hindu (6.3 per cent) and other (2.5 per cent)
3 Malaysia Ringgit (about monetary unit.20 ringgit per 1 US dollar, or about 10.42 per 1.
Democratic regime ringgit) in Parliament (Parliamentary Democracy)

ruling system.(1) the Federation with King Gustav (Yang-diPertuan Agong) is the head of State, elected by parents of 9. Hospitality (Johor, Terengganu Kuala Pahang-Kelantan da ngo salang nekri Jambi LAN pre and palit) Agenda item 5 years ago
(2) the Prime Minister as head of the Federal Government and Menteri Besar (State of mukmontri in the case of a State Chief Minister or Prince. In cases where there are no parents, State officials) as head of the Government's State
.Head of State Tuanku Mizan Al-Wathiqu II Zainal Abidin Al-Marhum Billah ibni Sultan Mahmud Al-Muktafi Billah Shah of Terengganu State, he is Michael the composition of Malaysia 13
(since December 13, 2006)

politics political science
.UMNO party is management policy guidelines, focusing on nationalism, but mild support Malay, have the right to participate in the management of both political and economic aspects. Policy on the management and development of all major countries. 1. policy to favor one party not independently support a specific Western countries
2. Trying to play a role in the Association of Southeast Asian Nations and a group of developing countries, especially the Muslim countries to negotiate power with Western countries in the arena of international
3. Development of governance based on democratic and not adhere to the format of the Western countries had their own operation and importance to the matter of domestic stability is key

trade economy.Malaysia-economy-economic policies following the
1) Open to trade, investment and technology transfer from the West to developing countries to the developed countries within the year (2020 Vision) 2563 (2020) as a former Prime Minister. Dr.Flying flea, thi is the target area 2
Hamra) Leading political, economic policy in order to bring the benefits and opportunities of trade to countries.
3) extend the economic contacts and trade with the developing countries to reduce reliance on the u.s. and European slopes such as the phat Malaysia as Chairman of the Islamic Conference Organisation (Organisation of Islamic Conference – OIC) OIC (including 57 countries), especially the food halal. Islamic banking Study & travel
The relationship between Thai and Malaysia
1. The diplomacy
Thai established diplomatic relations with Malaysia on August 31 2500 Ambassador at the Kuala Lumpur who is Mr. Piyawat auspicious expert who joined the March position gained 2550 (2007) Additionally, Featuring 2 (Consulate-General at City of Penang and Kota bharu town at the Consulate) and has a regular Consulate Langkawi (which includes tea, Dato Abdul sari's Honorary Consulate la ACE flying Kay as head office). Lol, which is under the Office of the Ambassador around ratthut: Office of the Assistant military attache Office of the foreign trade promotion. The Labour Office of the other Thai agencies section. Thai Airways International for Malaysia's authorities in the Thai Embassy, Malaysia (Malaysia Ambassador who is Dato tea Rani Ibn Ibrahim) and a Consulate-General in Songkhla province's Malaysia
.2. political
The relationship between Thai and Malaysia have developed so far demonstrate a very closely because the two countries share many common interests. An exchange visit in various levels of high level British. Government. Both formal and informal, is going on a regular basis, but even though the two sides have close relations, there are still other issues in relation to collaboration solutions such as the land boundary demarcation. Construction, unrest in the southern border provinces, etc
.Malaysia aims to highlight the Thai policy of promoting trust between each other, and create a strong base to develop relationships at all levels based on reasoning. Mutual respect as a good neighbor country. 3. economic year in trade •
2550 (2007) Malaysia-Thai trade worth USD 16408 million by Thai trade deficit 826.50 million USD Thai exports of goods such as computers and. Automotive equipment and components, circuit boards, timber products imported from Malaysia, and crude oil and mineral fuel. Computers.
Chemicals.• Investment in the year 2550 (2007) Malaysia investors have been approved by the BOI total 33 projects (from 38 projects that apply for) an idea worth 11566 million increase from 53 percent the year before.6, mainly invested in equipment and electronic components
• Tourism in the year 2550 (2007) tourists came to Malaysia with 1.2 million people Thai and Thai tourists to Malaysia for about 600, 000 people (statistics, during the month of Jan-Jun-2550 (2007))
4. Social and cultural aspects of Thai society, with Malaysia
there • closely on local level.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อาเซียน มาเลเซีย (Malaysia)

ชื่อประเทศ - มาเลเซีย
ที่ตั้ง - ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน คือ มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ประกอบด้วย11รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ และปะลิส มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว (กาลิมันตัน) ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาห์ และซาราวัก นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก 3เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน


พื้นที่ - 128,430 ตารางไมล์ (329,758 ตารางกิโลเมตร)
เมืองหลวง - กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)
เมืองราชการ - เมืองปุตราจายา (Putrajaya)
ภูมิอากาศ - ร้อนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
ประชากร 26.24 ล้านคน (ปี 2549)
ภาษา มาเลย์ (Bahasa Malaysia เป็นภาษาราชการ) อังกฤษ จีน ทมิฬ
ศาสนา อิสลาม (ศาสนาประจำชาติ ร้อยละ 60.4) พุทธ (ร้อยละ 19.2) คริสต์ (ร้อยละ 11.6) ฮินดู (ร้อยละ 6.3) อื่น ๆ (ร้อยละ 2.5)
หน่วยเงินตรา ริงกิตมาเลเซีย (ประมาณ 3.20 ริงกิต /1 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 10.42 บาท/1 ริงกิต)
ระบอบการเมือง ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy)
ระบบการปกครอง
(1) สหพันธรัฐ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดี (Yang-diPertuan Agong) เป็นประมุข ซึ่งมาจากการเลือกตั้งจากเจ้าผู้ปกครองรัฐ9 แห่ง (ยะโฮร์ ตรังกานู ปะหัง สลังงอร์ เกดะห์ กลันตัน เนกรีเซมบิลัน เประ และปะลิส) และผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันขึ้นดำรงตำแหน่ง วาระละ 5 ปี
(2) นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลสหพันธรัฐ และมุขมนตรีแห่งรัฐ (Menteri Besar ในกรณีที่มีเจ้าผู้ปกครองรัฐ หรือChief Minister ในกรณีที่ไม่มีเจ้าผู้ปกครองรัฐ) เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งรัฐ
ประมุขสมเด็จพระราชาธิบดี Al-Wathiqu Billah Tuanku Mizan Zainal Abidin ibni Al-Marhum Sultan Mahmud Al-Muktafi Billah Shah จากรัฐตรังกานู ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 13 ของมาเลเซีย
(ตั้งแต่วันที่ 13 ธันวาคม 2549)
การเมืองการปกครอง
การเมือง
พรรค UMNO มีแนวนโยบายบริหารประเทศเน้นชาตินิยมแต่ไม่รุนแรง สนับสนุนชาวมาเลย์ให้มีสิทธิในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจ แนวนโยบายในการบริหารและพัฒนาประเทศหลัก ๆ สรุปได้ดังนี้
1. ดำเนินนโยบายอย่างเป็นอิสระไม่ฝักใฝ่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด โดยเฉพาะประเทศตะวันตก
2. พยายามเข้าไปมีบทบาทนำในอาเซียน และกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะกลุ่มประเทศมุสลิม เพื่อเป็นพลังต่อรองกับประเทศตะวันตกในเวทีระหว่างประเทศ
3. พัฒนาการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยโดยไม่ยึดติดกับรูปแบบของประเทศตะวันตกมีแนวดำเนินการของตนเองและให้ความสำคัญต่อเรื่องความมั่นคงภายในประเทศเป็นสำคัญ
เศรษฐกิจการค้า
เศรษฐกิจ มาเลเซียมีนโยบายทางเศรษฐกิจดังต่อไปนี้
1) เปิดรับการค้า การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากตะวันตก เพื่อพัฒนาประเทศไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2563 (Vision 2020) ตามที่อดีตนายกรัฐมนตรี ดร.มหาธีร์ บิน โมฮัมหมัดตั้งเป้าหมายไว้
2) ใช้นโยบายการเมืองนำเศรษฐกิจเพื่อนำมาซึ่งผลประโยชน์และโอกาสทางการค้าแก่ประเทศ
3) ขยายการติดต่อด้านเศรษฐกิจและการค้ากับประเทศกำลังพัฒนาเพื่อลดการพึ่งพาตลาดสหรัฐฯ และยุโรป อาทิ มาเลเซียในฐานะประธานองค์การการประชุมอิสลาม (Organisation of Islamic Conference – OIC) ให้ความสำคัญกับการรวมตัวทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก OIC (รวม 57 ประเทศ) โดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ธนาคารอิสลาม การศึกษา และการท่องเที่ยว
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซีย
1. ด้านการทูต
ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับมาเลเซียเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2500 เอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์คนปัจจุบันคือ นายปิยวัชร นิยมฤกษ์ ซึ่งเข้ารับตำแหน่งเมื่อเดือนมีนาคม 2550 นอกจากนี้ ไทยยังมีสถานกงสุลใหญ่ในมาเลเซีย 2แห่ง (สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองปีนัง และสถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู) และมีสถานกงสุลประจำเกาะลังกาวี (ซึ่งมีดาโต๊ะ ชาซรีล เอสเคย์ บิน อับดุลลาห์ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นหัวหน้าสำนักงาน) สำหรับหน่วยงานของส่วนราชการต่าง ๆ ซึ่งตั้งสำนักงานอยู่ภายใต้สถานเอกอัครราชทูตฯ ได้แก่ สำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ สำนักงานแรงงาน ส่วนหน่วยงานของไทยอื่นๆ ที่ตั้งสำนักงานในมาเลเซียคือการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริษัทการบินไทย สำหรับหน่วยงานของมาเลเซียในไทยได้แก่ สถานเอกอัครราชทูตมาเลเซีย (เอกอัครราชทูตมาเลเซียคนปัจจุบันคือ ดาโต๊ะ ชารานี บิน อิบราฮิม) และสถานกงสุลใหญ่มาเลเซียประจำจังหวัดสงขลา
2. ด้านการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซียได้พัฒนาแน่นแฟ้นจนมีความใกล้ชิดกันมาก เนื่องจากทั้งสองประเทศมีผลประโยชน์ร่วมกันหลายประการ การแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับต่าง ๆ ทั้งระดับพระราชวงศ์ชั้นสูง รัฐบาล และเจ้าหน้าที่ ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เป็นไปอย่างสม่ำเสมอ แต่แม้ว่าสองฝ่ายจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกัน ก็ยังคงมีประเด็นปัญหาในความสัมพันธ์ ซึ่งต้องร่วมมือกันแก้ไข อาทิ การปักปันเขตแดนทางบก บุคคลสองสัญชาติ การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นต้น
นโยบายของไทยต่อมาเลเซียเน้นมุ่งส่งเสริมความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน และสร้างพื้นฐานที่เข้มแข็งให้ความสัมพันธ์ทุกระดับงอกงามอยู่บนพื้นฐานของการใช้เหตุผล เคารพซึ่งกันและกันในฐานะประเทศเพื่อนบ้านที่ดี เพราะเหตุการณ์ในประเทศหนึ่งย่อมจะส่งผลเกื้อหนุนหรือกระทบต่ออีกประเทศหนึ่งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
3. ด้านเศรษฐกิจ
• ด้านการค้า ในปี 2550 การค้าไทย-มาเลเซียมีมูลค่า 16,408 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยไทยขาดดุลการค้า 826.50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินค้าส่งออกของไทยที่สำคัญ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า ยางพารา สินค้านำเข้าจากมาเลเซียที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมันดิบและแร่เชื้อเพลิง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์
• ด้านการลงทุน ในปี 2550 นักลงทุนมาเลเซียได้รับอนุมัติจาก BOI จำนวน 33 โครงการ (จาก 38 โครงการที่ยื่นขอ) คิดเป็นมูลค่า 11,566 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 53.6 ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนด้านอุปกรณ์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
• ด้านการท่องเที่ยว ในปี 2550 นักท่องเที่ยวมาเลเซียมาไทย 1.2 ล้านคน และมีนักท่องเที่ยวไทยไปมาเลเซียประมาณ 600,000คน (สถิติในช่วงเดือน ม.ค. - มิ.ย. 2550)
4. สังคมและวัฒนธรรม
• ด้านสังคม ไทยกับมาเลเซียมีความใกล้ชิดกันในระดับท้องถิ่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ASEAN, Malaysia (Malaysia)

country names - Malaysia
.Location - located on the equator, consists of two parts, the territory is located on the Malay Peninsula Peninsular Malaysia consists of 11 state. The trough, the Selangor Negri Sembilan Melaka. The Johor Perak Kelantan Terengganu, Penang, เกดะ.East Malaysia is located on Borneo (Kalimantan) consists of 2 state is Sabah and Sarawak. Also the divisions under the Federation. Another 3 designated is Kuala Lumpur (capital) city of Putrajaya (city government).

- 128 area, 758 square kilometers, 430 square miles (329)
capital - Kuala Lumpur (Kuala Lumpur)
city government - the city of Putrajaya. (Putrajaya)
- hot, humid climate. The average temperature 28 C
population 26.24 million people (year 2549)
.Malay Language (Bahasa Malaysia language), English, Chinese, Tamil
religion, Islam (the national religion of 60.4) Buddhist (% 19.2). Christian (% 11.6) Hindu (% 6.3) other (percentage 2.5)
, the Malaysian ringgit (about 3 monetary unit.20 ringgit / 1 US dollars, or about 10.42 baht / 1 ringgit)
political system, democracy in the parliamentary system regime (Parliamentary Democracy)

.(1) Federation. The king (Yang-diPertuan Agong) as head of state from the election from you who ruled the State 9. (Johor, Selangor, Pahang, Terengganu Kedah Kelantan Negri Sembilan, the Perak and ปะลิส).Each session 5 years
.(2), Prime Minister of the federal government and Commerce of state (Menteri Besar in case you who ruled the state or Chief Minister. In the absence of the ruler of the state). The government of the state
.The king Al-Wathiqu Billah Tuanku Mizan Zainal Abidin ibni Al-Marhum Sultan Mahmud Al-Muktafi Billah Shah. From the food and drug administration. He is king of the 13 Malaysia
(since the day 13 December. 2549)

.
politics politicsThe party has run the country UMNO policy focused on nationalism, but mild. Support Malaysian to have the right to participate in the administration of the country both in politics and economy. The policy in the management and development of the main countries.1. Policies independently not concentrate on one side, especially the western countries
2.Trying to get a บาทนำ in ASEAN and the developing countries. The Muslim countries. As the power to negotiate with the western countries in the international arena
3.The development rule according to the democracy without sticking to the pattern of the western countries have the ดำเนินการของ themselves and the importance of domestic security is the important economic, trade,

.Malaysian economic policy economic following
1) exposure on trade, investment and technology transfer from the West. To develop the country into a developed country within a year 2563 (Vision 2020) as former Prime Minister Dr.Mahathir bin Mohammad thwart
2). The political policy led to bring economic benefits and trade opportunities for the country!3) expand economic contacts and trade with developing countries to reduce dependence on the U.S. market and Europe such as Malaysia as chairman of OIC. (Organisation of Islamic Conference - OIC).OIC (including 57 country), especially the halal food industry, Islamic banking, education, and tourism
.The relationship between Thailand and Malaysia
1. Diplomatic
.The establishment of diplomatic relations with Vietnam on 31 August 2500 Ambassador of Kuala Lumpur's present is, you use process. Popular politics, which took office on March 2550 also.2 of Consulate General of Penang and Consulate-General consulate Orchestra) and in Langkawi Island (which contains the table. ชาซรี. S. Kay bin Abdullah honorary consul of the head office).The other, which office under the embassy, including the office of the assistant of military affairs. Trade Promotion Agency in the International Labour Office the Thai authorities, etc.Thai Airways International for Department of Malaysia in Thai include Embassy of Malaysia. (Ambassador of Malaysia present is Dato chara. Bin Ibrahim) and Malaysian Consulate General of Songkhla province
.2. Politics
.The relationship between Thailand and Malaysia have developed stably and are very close to each other. Since the two countries mutual benefit a variety of reasons. The exchange of visits at different levels on the level of the higher government.Both formal and informal, it regularly. But even if the parties have a very close relationship. It still has issues in the relationship, which must work together to solve, such as the demarcation of landThe insurgency in the southern provinces, etc.!Policy towards Malaysia focused on promoting trust between each other. The strong relationships at all levels to flourish on the basis of reasoning. Respect each other as the country a good neighbor.3. Economic
- on trade, trade in 2550 JDS is worth, 16 408 million US dollars, by the Thai Trade 826.50 million US dollars, exports more important, including computers, cars, accessories and components, circuit boards, timber Import from Malaysia important crude oil and mineral fuels. The computer.Chemicals
.Education investment in 2550 Malaysian investors approved by the 33 BOI project (from 38 project ที่ยื่น request), is thought to 11 566% percent from last year 53.6 mainly invest in equipment and electronic components
- tourism in 2550 Malaysian tourists to Thailand 1.2 million people. And Thai tourists to Malaysia, about 600 000 people (Statistics in the month of Jan - Jun 2550)
4.Social and cultural
- social, Thailand and Malaysia are very close to each other at the local level.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: