นกกระเรียน นกกระเรียน (อังกฤษ: Cranes) เป็นนกขนาดใหญ่ คอและขายาว อยู่ใ การแปล - นกกระเรียน นกกระเรียน (อังกฤษ: Cranes) เป็นนกขนาดใหญ่ คอและขายาว อยู่ใ อังกฤษ วิธีการพูด

นกกระเรียน นกกระเรียน (อังกฤษ: Cran

นกกระเรียน

นกกระเรียน (อังกฤษ: Cranes) เป็นนกขนาดใหญ่ คอและขายาว อยู่ในอันดับ Gruiformes และวงศ์นกกระเรียน (Gruidae) มี 15 ชนิด คล้ายนกกระสาแต่เวลาบินนกกระเรียนจะเหยียดคอตรง ไม่งอพับมาด้านหลังเหมือนนกกระสา นกกระเรียนอาศัยอยู่ทั่วโลกยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกาและทวีปอเมริกาใต้
นกส่วนมากไม่ถูกคุกคามมากนัก ยกเว้นบางชนิดที่ถูกคุกคามจนวิกฤติ เช่น นกกระเรียนกู่
นกกระเรียนเป็นนักกินตามโอกาส อาหารจะเปลี่ยนไปตามฤดูกาลและความต้องการสารอาหาร อาหารจะเป็นตั้งแต่ สัตว์ฟันแทะตัวเล็กๆ ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และแมลง จนถึง ธัญพืช ลูกไม้ และพืช
มีการแสดงท่าทางที่ซับซ้อนและส่งเสียงร้องเพื่อการเกี้ยวพาราสีหรือที่เรียกว่า เต้นระบำ ในขณะที่คนทั่วไปคิดว่านะกระเรียนมีคู่ตัวเดียวไปจนตาย จากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดแสดงว่านกเหล่านี้มีการเปลี่ยนคู่ในช่วงชีวิตของมัน อาจเป็นในช่วง 10 หลังๆ นกกระเรียนสร้างรังแบบยกพื้นในน้ำตื้นและมักจะวางไข่สองครั้ง พ่อแม่จะช่วยกันเลี้ยงดูลูก ลูกนกจะอยู่กับพ่อแม่จนกระทั่งฤดูผสมพันธุ์ถัดไป[1].
บางชนิดเป็นนกอพยพทางไกล แต่ไม่ใช่ทุกชนิด นกกระเรียนชอบอยู่เป็นฝูงขนาดใหญ่

2. สัตว์ป่าคุ้มครอง
ช้างป่าแอฟริกา

ช้างป่าแอฟริกา (อังกฤษ: African forest elephant; ชื่อวิทยาศาสตร์: Loxodonta cyclotis) เป็นช้างชนิดหนึ่ง เดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดเดียวกันกับช้างพุ่มไม้แอฟริกา (L. africana) โดยใช้ชื่อว่า L. africana cyclotis จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2010 หลักฐานทางการศึกษาทางดีเอ็นเอพบว่าเป็นคนละชนิดกัน จึงแยกออกเป็นชนิดต่างหาก ถือเป็นสัตว์จำพวกช้าง 1 ใน 3 ชนิดที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน[2]
ช้างป่าแอฟริกามีลักษณะคล้ายกับช้างพุ่มไม้แอฟริกา แต่มีขนาดเล็กกว่าพอสมควร มีใบหูเล็กและกลมกว่า งาเรียวยาวและตรงกว่า บางตัวอาจชี้ลงพื้น เท้าหน้ามี 5 นิ้ว เท้าหลังมี 4 นิ้ว ตัวเมียมีน้ำหนักราว 2 ตัน มีความสูงราว 3 เมตร ตัวผู้มีขนาดโตกว่าเล็กน้อย ถิ่นอาศัยมักอยู่ตามป่าทึบสลับทุ่งหญ้าตอนกลางและทางตะวันตกของทวีปแอฟริกา ซึ่งพบได้แคบกว่าช้างพุ่มไม้แอฟริกา เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 8–11 ปี ระยะเวลาตั้งท้องนาน 18–22 เดือน ลูกช้างแรกคลอดหนักประมาณ 50–100 กิโลกรัม มีความสูง 80–100 เซนติเมตร ต้องการอาหารวันละ 60–120 กิโลกรัม น้ำวันละ 60–120 ลิตร อาหารที่ชอบ คือ ใบไม้, หญ้าแห้ง และรากไม้[3] [4]
ช้างป่าแอฟริกาเคยถูกเรียกว่าเป็น "ช้างแคระ" เนื่องจากมีขนาดใหญ่เต็มที่มีน้ำหนักเพียง 900 กิโลกรัม (1,980 ปอนด์) เท่านั้น พบในลุ่มน้ำคองโก โดยนักสัตว์ประหลาดวิทยา ในขณะนั้นใช้ชื่อว่า Loxodonta pumilio[5]
นอกจากนี้แล้ว ช้างป่าแอฟริกาในอดีตเคยถูกใช้เป็นช้างศึกของฮันนิบาล แม่ทัพแห่งคาร์เทจ ในสงครามพิวนิคกับโรมัน ในการเดินทางผ่านเทือกเขาแอลป์[6]

เหยี่ยว

เหยี่ยว หรือ ตุงตั้ม[2] (อังกฤษ: Falcon, Hawk, Kite, Kestrel; อีสาน: แหลว) คือ นกในอยู่ในสกุล Falco[1] จัดอยู่ในกลุ่มนกล่าเหยื่อที่อยู่ในอันดับ Falconiformes และวงศ์ Falconidae
เหยี่ยวมีลักษณะคล้ายกับอินทรี ซึ่งเป็นนกล่าเหยื่อเช่นเดียวกัน แต่เหยี่ยวมีขนาดเล็กกว่า คือมีจะงอยปากที่งองุ้ม มีกรงเล็บที่แหลมคมและแข็งแรง บินได้อย่างรวดเร็ว กางปีกได้กว้างและยาว สามารถบินหรือเหินได้สูง และมีสายตาที่ดีมาก อาหารโดยทั่วไปของเหยี่ยว คือ สัตว์ขนาดเล็กกว่าต่าง ๆ เช่น สัตว์ฟันแทะ, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมต่าง ๆ, สัตว์เลื้อยคลาน, สัตว์น้ำ เช่น ปลา หรือกุ้ง หรือแม้แต่สัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่าได้ เช่น กวาง เป็นต้น[3] [4]
นอกจากสกุล Falcon แล้ว ยังมีนกในสกุลอื่น แต่อยู่ในวงศ์เดียวกันที่เรียกว่าเหยี่ยวได้ เช่น Haliastur, Elanus, Haliaeetus และMicrohierax (ซึ่งบางครั้งอาจเรียกเป็นอินทรี) เป็นต้น[5]
เหยี่ยวที่พบในประเทศไทยมีหลายชนิด อาทิ เหยี่ยวแดง (Haliastur indus), นกออก (Haliaeetus leucogaster), เหยี่ยวรุ้ง (Spilornis cheela) เป็นต้น
และยังมีอีกชนิดหนึ่ง คือ เหยี่ยวออสเปร (Pandion haliaetus) ซึ่งเป็นนกที่มีวิวัฒนาการเป็นของตัวเอง มีวงศ์และสกุลของตัวเองต่างหาก[6]
จากความที่เป็นนกล่าเหยื่อ และมีขนาดลำตัวที่ไม่ใหญ่นัก เหยี่ยวจึงถูกมนุษย์ใช้เลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงมาแล้วนานกว่า 2,000 ปี[7] เพื่อใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ล่าสัตว์, เพื่อความเพลิดเพลิน หรือแม้แต่ใช้ในการไล่นกชนิดอื่น ๆ ในสนามบินหรือชุมชนเมืองบางแห่ง
ชะนี

ชะนี (วงศ์: Hylobatidae; อังกฤษ: Gibbon; ภาษาเหนือ: อี่ฮุย, อี่วุย) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับวานร (Primates) เป็นลิงไม่มีหาง ซึ่งชะนีถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ Hylobatidae และถูกจัดให้เป็น 1 ใน 4 ลิงที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด (ประกอบไปด้วย ชะนี, ชิมแปนซี, อุรังอุตัง, กอริลลา ซึ่งชะนีมีความใกล้เคียงมนุษย์น้อยที่สุดในบรรดาทั้ง 4 นี้ เนื่องจากมีแขนขาเรียวยาว มีฟันเขี้ยวที่แหลมคม และใช้ชีวิตหากินอยู่บนต้นไม้มากกว่าพื้นดิน)[2] ซึ่งนับว่าชะนีมีแขนที่ยาวที่สุดในบรรดาสัตว์อันดับวานรทั้งหมด[3] และมีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า [4]
มีทั้งหมด 4 สกุล (แต่ข้อมูลบางแหล่งอาจใช้เพียงสกุลเดียว คือ Hylobates[5]) แบ่งได้ออกเป็น 12 ชนิด 10 ชนิดพบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ 2 ชนิด พบในเอเชียใต้และจีนตอนใต้
สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 4 ชนิด คือ
• ชะนีมือดำ (Hylobates agilis)
• ชะนีมือขาว (Hylobates lar)
• ชะนีมงกุฎ (Hylobates pileatus)
• ชะนีเซียมัง (Symphalangus syndactylus)
ชีววิทยาของชะนีส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์ โดยอยู่กันแบบครอบครัวที่มีผัวเดียวเมียเดียวไปตลอดชีวิต

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
CraneCrane (English: Cranes) is a large bird, neck, and leg length in Gruiformes "crane (Gruidae) is similar, but includes 15 types of storks flying time crane will Neck stretches. Do not bend the folded back like a stork. Crane lived throughout the world, except Antarctica and South America.Most of the birds are not harassed much except some until the crisis was threatened types such as crane Ku.Crane is an occasional Eater. Dishes change according to season and demand for nutrients. The food will be from a small rodent, fish, amphibians, and insects until the grain and lace plant.There is a complex gesture and shout to courtship, called dance, while the common people think HES the crane has a single partner to finally die. From the latest scientific research shows that these birds have a pair of changes during the life of it. It might be in the range of 10 nesting crane lang raised floor in shallow water and often spawn twice. Parents will help each child raising. Young birds stay with their parents until the next breeding season [1].Some types of birds but not the evacuation of all kinds. Crane is a large flock like.2. the wildlife protectionAfrican forest elephant. ช้างป่าแอฟริกา (อังกฤษ: African forest elephant; ชื่อวิทยาศาสตร์: Loxodonta cyclotis) เป็นช้างชนิดหนึ่ง เดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดเดียวกันกับช้างพุ่มไม้แอฟริกา (L. africana) โดยใช้ชื่อว่า L. africana cyclotis จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2010 หลักฐานทางการศึกษาทางดีเอ็นเอพบว่าเป็นคนละชนิดกัน จึงแยกออกเป็นชนิดต่างหาก ถือเป็นสัตว์จำพวกช้าง 1 ใน 3 ชนิดที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน[2]ช้างป่าแอฟริกามีลักษณะคล้ายกับช้างพุ่มไม้แอฟริกา แต่มีขนาดเล็กกว่าพอสมควร มีใบหูเล็กและกลมกว่า งาเรียวยาวและตรงกว่า บางตัวอาจชี้ลงพื้น เท้าหน้ามี 5 นิ้ว เท้าหลังมี 4 นิ้ว ตัวเมียมีน้ำหนักราว 2 ตัน มีความสูงราว 3 เมตร ตัวผู้มีขนาดโตกว่าเล็กน้อย ถิ่นอาศัยมักอยู่ตามป่าทึบสลับทุ่งหญ้าตอนกลางและทางตะวันตกของทวีปแอฟริกา ซึ่งพบได้แคบกว่าช้างพุ่มไม้แอฟริกา เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 8–11 ปี ระยะเวลาตั้งท้องนาน 18–22 เดือน ลูกช้างแรกคลอดหนักประมาณ 50–100 กิโลกรัม มีความสูง 80–100 เซนติเมตร ต้องการอาหารวันละ 60–120 กิโลกรัม น้ำวันละ 60–120 ลิตร อาหารที่ชอบ คือ ใบไม้, หญ้าแห้ง และรากไม้[3] [4]ช้างป่าแอฟริกาเคยถูกเรียกว่าเป็น "ช้างแคระ" เนื่องจากมีขนาดใหญ่เต็มที่มีน้ำหนักเพียง 900 กิโลกรัม (1,980 ปอนด์) เท่านั้น พบในลุ่มน้ำคองโก โดยนักสัตว์ประหลาดวิทยา ในขณะนั้นใช้ชื่อว่า Loxodonta pumilio[5]นอกจากนี้แล้ว ช้างป่าแอฟริกาในอดีตเคยถูกใช้เป็นช้างศึกของฮันนิบาล แม่ทัพแห่งคาร์เทจ ในสงครามพิวนิคกับโรมัน ในการเดินทางผ่านเทือกเขาแอลป์[6]เหยี่ยวเหยี่ยว หรือ ตุงตั้ม[2] (อังกฤษ: Falcon, Hawk, Kite, Kestrel; อีสาน: แหลว) คือ นกในอยู่ในสกุล Falco[1] จัดอยู่ในกลุ่มนกล่าเหยื่อที่อยู่ในอันดับ Falconiformes และวงศ์ Falconidaeเหยี่ยวมีลักษณะคล้ายกับอินทรี ซึ่งเป็นนกล่าเหยื่อเช่นเดียวกัน แต่เหยี่ยวมีขนาดเล็กกว่า คือมีจะงอยปากที่งองุ้ม มีกรงเล็บที่แหลมคมและแข็งแรง บินได้อย่างรวดเร็ว กางปีกได้กว้างและยาว สามารถบินหรือเหินได้สูง และมีสายตาที่ดีมาก อาหารโดยทั่วไปของเหยี่ยว คือ สัตว์ขนาดเล็กกว่าต่าง ๆ เช่น สัตว์ฟันแทะ, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมต่าง ๆ, สัตว์เลื้อยคลาน, สัตว์น้ำ เช่น ปลา หรือกุ้ง หรือแม้แต่สัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่าได้ เช่น กวาง เป็นต้น[3] [4]นอกจากสกุล Falcon แล้ว ยังมีนกในสกุลอื่น แต่อยู่ในวงศ์เดียวกันที่เรียกว่าเหยี่ยวได้ เช่น Haliastur, Elanus, Haliaeetus และMicrohierax (ซึ่งบางครั้งอาจเรียกเป็นอินทรี) เป็นต้น[5]เหยี่ยวที่พบในประเทศไทยมีหลายชนิด อาทิ เหยี่ยวแดง (Haliastur indus), นกออก (Haliaeetus leucogaster), เหยี่ยวรุ้ง (Spilornis cheela) เป็นต้นและยังมีอีกชนิดหนึ่ง คือ เหยี่ยวออสเปร (Pandion haliaetus) ซึ่งเป็นนกที่มีวิวัฒนาการเป็นของตัวเอง มีวงศ์และสกุลของตัวเองต่างหาก[6]จากความที่เป็นนกล่าเหยื่อ และมีขนาดลำตัวที่ไม่ใหญ่นัก เหยี่ยวจึงถูกมนุษย์ใช้เลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงมาแล้วนานกว่า 2,000 ปี[7] เพื่อใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ล่าสัตว์, เพื่อความเพลิดเพลิน หรือแม้แต่ใช้ในการไล่นกชนิดอื่น ๆ ในสนามบินหรือชุมชนเมืองบางแห่งชะนีชะนี (วงศ์: Hylobatidae; อังกฤษ: Gibbon; ภาษาเหนือ: อี่ฮุย, อี่วุย) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับวานร (Primates) เป็นลิงไม่มีหาง ซึ่งชะนีถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ Hylobatidae และถูกจัดให้เป็น 1 ใน 4 ลิงที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด (ประกอบไปด้วย ชะนี, ชิมแปนซี, อุรังอุตัง, กอริลลา ซึ่งชะนีมีความใกล้เคียงมนุษย์น้อยที่สุดในบรรดาทั้ง 4 นี้ เนื่องจากมีแขนขาเรียวยาว มีฟันเขี้ยวที่แหลมคม และใช้ชีวิตหากินอยู่บนต้นไม้มากกว่าพื้นดิน)[2] ซึ่งนับว่าชะนีมีแขนที่ยาวที่สุดในบรรดาสัตว์อันดับวานรทั้งหมด[3] และมีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า [4]มีทั้งหมด 4 สกุล (แต่ข้อมูลบางแหล่งอาจใช้เพียงสกุลเดียว คือ Hylobates[5]) แบ่งได้ออกเป็น 12 ชนิด 10 ชนิดพบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ 2 ชนิด พบในเอเชียใต้และจีนตอนใต้สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 4 ชนิด คือ• ชะนีมือดำ (Hylobates agilis)• ชะนีมือขาว (Hylobates lar)• ชะนีมงกุฎ (Hylobates pileatus)• ชะนีเซียมัง (Symphalangus syndactylus)ชีววิทยาของชะนีส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์ โดยอยู่กันแบบครอบครัวที่มีผัวเดียวเมียเดียวไปตลอดชีวิต
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: