ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่าในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่า มี 2  การแปล - ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่าในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่า มี 2  อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่าในความ

ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่า

ในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่า มี 2 ความหมาย
1. ความหมายแรก หมายถึง ปากทางที่จะเข้าสู่ป่า ซึ่งมักจะปรากฏอยู่เป็นเสา ตั้งอยู่ที่ชายหมู่บ้าน ขนาบทางเดินที่จะเข้าป่าซึ่งมักจะเป็นส่วนประดับอยู่ระหว่างเสาทั้งคู่ ใช้เป็นบริเวณที่ประกอบพิธีกรรมสำหรับหมู่บ้าน และยังหมายถึงบริเวณพิธีที่ประกอบพิธีกรรมในการยกทัพอีกด้วย
2. ความหมายที่สองประตูป่าในล้านนาหมายถึง บริเวณทางเข้าที่ล้อมด้วยรั้วราชวัตร ซึ่งเป็นเขตหวงห้ามที่ใช้ประกอบพิธีหรือสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ ในช่องทางนี้มักประดับไปด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย และใช้ทางมะพร้าวผ่าออกเป็น 2 ส่วน
เพื่อประดับที่เสาประตูด้านละส่วน แล้วโน้มปลายมาผูกติดกันเพื่อแสดงช่องทางเข้าสู่สถานที่นั้น และการประดับประดาด้วยดอกไม้ เช่นดอกดาวเรือง ดอกบานไม่รู้โรย ดอกรัก และประดับด้วยโคมไฟล้านนา การประดับประตูป่าเช่นนี้จะจัดทำขึ้นที่ ประตูบ้านในเทศกาลยี่เป็ง หรือวันเพ็ญเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 หรือวันลอยกระทงในภาคกลาง
ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า ทำเพื่อต้อนรับพระเวสสันดร เพราะชาวล้านนานิยมฟังมหาเวสสันดรชาดก และหากใครฟังครบ 13 กัณฑ์จะเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง และบ้านเมือง ในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็ง ชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรมเรื่อง เวสสันดรชาดก และในกัณฑ์ที่ 13 กัณฑ์สุดท้ายหรือนครกัณฑ์ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดรทรงลาผนวช และทรงเครื่องกษัตริย์เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพี ชาวบ้านชาวเมืองต่างดีใจจึงประดับตกแต่งเมืองด้วยซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม จากเรื่องราวที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกนี้คนล้านนาจึงจำลองฉากเวสสันดรชาดกมาไว้ยังบ้านของตนเอง ด้วยการตกแต่งประดับประดาจำลองเป็นป่าหิมมพานต์ และเชื่อว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา จะทำให้ได้อานิสงส์อย่างมาก การสร้างซุ้มประตูป่า นอกจากมีคติความเชื่อ ในเรื่องการต้อนรับการเสด็จกลับจากป่าของพระเวสสันดรแล้ว ยังเป็นซุ้มที่ใช้จุดผางประทีส เพื่อบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ โดยจุดไว้ในโคมหูกระต่ายหรือโคมชนิดอื่นๆ ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
History of the arch, forestIn the faith of the people of Northern jungle arch. Has 2 meanings? 1. the first meaning refers to the mouth that enters the forest, often appearing as a pillar. Located in the village. Flanked by the PA, which is often best decor between both poles. Used as an area for the village and the surrounding the ceremony rituals in the army as well.2. the second meaning of forest gate in the northern entrance refers to the common practice of fencing, which is surrounded by territories forbid ceremony or sacred places. This channel is often decorated with banana, coconut and sugarcane cut into 2 sections.Side door pillar to the jewelry section, and then bind to Outlook comes at the end of the show the channel into the place and adorned with flowers such as sunflower, marigold flower, gomphrena and flower decor with lamp Lanna. The decor door PA like this are made. Yi Peng Festival in door or full moon day month, which corresponds to 12 months, or the full moon day in the central region of Loy Kratong.ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า ทำเพื่อต้อนรับพระเวสสันดร เพราะชาวล้านนานิยมฟังมหาเวสสันดรชาดก และหากใครฟังครบ 13 กัณฑ์จะเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง และบ้านเมือง ในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็ง ชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรมเรื่อง เวสสันดรชาดก และในกัณฑ์ที่ 13 กัณฑ์สุดท้ายหรือนครกัณฑ์ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดรทรงลาผนวช และทรงเครื่องกษัตริย์เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพี ชาวบ้านชาวเมืองต่างดีใจจึงประดับตกแต่งเมืองด้วยซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม จากเรื่องราวที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกนี้คนล้านนาจึงจำลองฉากเวสสันดรชาดกมาไว้ยังบ้านของตนเอง ด้วยการตกแต่งประดับประดาจำลองเป็นป่าหิมมพานต์ และเชื่อว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา จะทำให้ได้อานิสงส์อย่างมาก การสร้างซุ้มประตูป่า นอกจากมีคติความเชื่อ ในเรื่องการต้อนรับการเสด็จกลับจากป่าของพระเวสสันดรแล้ว ยังเป็นซุ้มที่ใช้จุดผางประทีส เพื่อบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ โดยจุดไว้ในโคมหูกระต่ายหรือโคมชนิดอื่นๆ ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่า

ในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่า มี 2 ความหมาย
1. ความหมายแรก หมายถึง ปากทางที่จะเข้าสู่ป่า ซึ่งมักจะปรากฏอยู่เป็นเสา ตั้งอยู่ที่ชายหมู่บ้าน ขนาบทางเดินที่จะเข้าป่าซึ่งมักจะเป็นส่วนประดับอยู่ระหว่างเสาทั้งคู่ ใช้เป็นบริเวณที่ประกอบพิธีกรรมสำหรับหมู่บ้าน และยังหมายถึงบริเวณพิธีที่ประกอบพิธีกรรมในการยกทัพอีกด้วย
2. ความหมายที่สองประตูป่าในล้านนาหมายถึง บริเวณทางเข้าที่ล้อมด้วยรั้วราชวัตร ซึ่งเป็นเขตหวงห้ามที่ใช้ประกอบพิธีหรือสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ ในช่องทางนี้มักประดับไปด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย และใช้ทางมะพร้าวผ่าออกเป็น 2 ส่วน
เพื่อประดับที่เสาประตูด้านละส่วน แล้วโน้มปลายมาผูกติดกันเพื่อแสดงช่องทางเข้าสู่สถานที่นั้น และการประดับประดาด้วยดอกไม้ เช่นดอกดาวเรือง ดอกบานไม่รู้โรย ดอกรัก และประดับด้วยโคมไฟล้านนา การประดับประตูป่าเช่นนี้จะจัดทำขึ้นที่ ประตูบ้านในเทศกาลยี่เป็ง หรือวันเพ็ญเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 หรือวันลอยกระทงในภาคกลาง
ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า ทำเพื่อต้อนรับพระเวสสันดร เพราะชาวล้านนานิยมฟังมหาเวสสันดรชาดก และหากใครฟังครบ 13 กัณฑ์จะเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง และบ้านเมือง ในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็ง ชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรมเรื่อง เวสสันดรชาดก และในกัณฑ์ที่ 13 กัณฑ์สุดท้ายหรือนครกัณฑ์ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดรทรงลาผนวช และทรงเครื่องกษัตริย์เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพี ชาวบ้านชาวเมืองต่างดีใจจึงประดับตกแต่งเมืองด้วยซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม จากเรื่องราวที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกนี้คนล้านนาจึงจำลองฉากเวสสันดรชาดกมาไว้ยังบ้านของตนเอง ด้วยการตกแต่งประดับประดาจำลองเป็นป่าหิมมพานต์ และเชื่อว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา จะทำให้ได้อานิสงส์อย่างมาก การสร้างซุ้มประตูป่า นอกจากมีคติความเชื่อ ในเรื่องการต้อนรับการเสด็จกลับจากป่าของพระเวสสันดรแล้ว ยังเป็นซุ้มที่ใช้จุดผางประทีส เพื่อบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ โดยจุดไว้ในโคมหูกระต่ายหรือโคมชนิดอื่นๆ ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The history the forest

in the faith of the Lanna arch forest, and there is 2 meaning
1.Meaning the first, meaning entrance to enter the forest, which often appear in pole is located at ชายหมู่บ้าน. Along the corridor to go into the woods, which is often the ornamental part between both poles.And also means the chancel at the rituals in the March as well
.2.The second meaning refers to wash in a field The entrance that surrounded with a fence, accuracy This is a restricted area used the ceremony or the holy place. In this channel is often decorated with a banana and sugarcane2 part
.To decorate the door posts on each part. And lean end to tied together to show the channel to place. And decorated with flowers, marigold flowers, such as amaranth crown and adorned with lamp style.The door of the house in the Yi Peng Festival, or moon brand which matches the lunar month 12 or วันลอยกระทงใน central
.The villagers believe that do to welcome the vessantara. Because the Lanna popular listen eyelash and if anyone listening to fully 13 section is fortune, and the country in the traditional brand Peng The popular sermon of Lanna.And in the last chapter the 13 or city section It is described about the events after the encysted had telephone network. And the king went back from the old forest has to rule the city color.From the story that appears in this one over the SSR simulated SSR to their homes. With decorate a forest snow simulation himmaphan. And believe that if who decorated arch forest views.It benefits greatly. Arch build forest, but beliefs. On the welcome back from the forest of encysted. Is also the arch at the use point Pang light. MV five God to worship.Used to decorate
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: