ยุคกลางประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (รัชกาลที่ 4-7)กฎหมายและการศาล - สมัยรัช การแปล - ยุคกลางประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (รัชกาลที่ 4-7)กฎหมายและการศาล - สมัยรัช อังกฤษ วิธีการพูด

ยุคกลางประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (รัชก

ยุคกลางประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (รัชกาลที่ 4-7)
กฎหมายและการศาล
- สมัยรัชกาลที่ 4
เป็นระยะที่ชาวยุโรปเริ่มแสวงหาอาณานิคมลัทธิจักรวรรดินิยมและกำลังขยายเข้ามายังประเทศไทย รัชกาลที่ 4 ทรงตรากฎหมายและประกาศต่างๆ ขึ้นใช้บังคับมากมาย เพื่อให้ทันสมัยเหมาะสมกับบ้านเมือง เช่น พ.ร.บ.มรดกสินเดิมและสินสมรส พ.ร.บ.พระสงฆ์และศิษย์วัด เป็นต้น
- สมัยรัชกาลที่ 5
1. ตั้งกระทรวงยุติธรรมให้ดูแลรับผิดชอบในเรื่องศาลทั้งหมด โดยมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระราชโอรสในพระองค์กับเจ้าจอมมารดาตลับ ผู้ซึ่งได้ไปศึกษาวิชากฎหมายจากประเทศอังกฤษ เป็นผู้ช่วยเหลือ และได้แต่งตั้งให้กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พร้อมกับตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายขึ้นและดำเนินการสอนโดยกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (พระบิดาแห่งกฎหมายและศาลไทย)
2. ตรวจชำระกฎหมาย เช่น กฎหมายลักษณะอาญา ซึ่งถือว่าเป็นกฎหมายทันสมัยที่สุดฉบับแรกของไทย ตรากฎหมาย พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ ร.ศ.116 พ.ร.บ.กรรมสิทธิ์ผู้แต่งหนังสือ ร.ศ.120 กฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส พ.ศ.2448
3. ยกเลิกศาลตามกรมกองต่างๆ จัดระเบียบการศาลในกรุงเทพและหัวเมืองให้เป็นระบบเดียวกันทั่วประเทศ แบ่งศาลเป็น 3 ชั้น คือศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา
4. เลิกวิธีการไต่สวนของตุลาการตามระเบียบเดิมที่ใช้จารีตนครบาล (การทรมานร่างกายให้ยอมรับผิด เช่น บีบขมับ ตอกเล็บ เป็นต้น) วางระเบียบไต่สวนแบบอารยประเทศคือให้มีการสืบพยานแทน
- สมัยรัชกาลที่ 6
ให้ดำเนินการร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่อจาก สมัยรัชกาลที่ 5ตั้งกรมร่างกฎหมายขึ้น ตรากฎมณเทียรบาลว่าด้วยการสืบสันตติวงศ์
- สมัยรัชกาลที่ 7
ระบบการศาลและกฎหมายยังคงดำเนินตามสมัยที่ผ่านมา

การเศรษฐกิจ
- สมัยรัชกาลที่ 4
1. อังกฤษขอให้มีการแก้ไขสนธิสัญญาเบอร์นี่ใหม่ ไทยจะไม่ยอมอังกฤษทำท่าว่าจะบังคับ
2. ไทยทำสนธิสัญญาเบาริ่งกับอังกฤษ พ.ศ.2398 มีสาระสำคัญทางด้านเศรษฐกิจดังนี้
2.1 พ่อค้าอังกฤษเข้ามาค้าขายในประเทศไทยได้โดยเสรีไม่ต้องผ่านคนกลาง
2.2 ไทยเก็บภาษีขาเข้าได้ร้อยละ 3 สำหรับสินค้าขาออกใช้อัตราที่กำหนดไว้ในพิกัดต่อท้ายสัญญา
2.3 ไทยให้สิทธิสภาพนอกอาณาเขตแก่คนในบังคับอังกฤษ
สนธิสัญญาเบาริ่งไม่ได้กำหนดเวลาเลิกใช้หรือเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงจะเปลี่ยนได้ก็ต่อเมื่อทั้งสองฝ่ายเห็นชอบ
3. โครงสร้างทางเศรษฐกิจของไทยเริ่มเปลี่ยนแปลง จากการผูกขาดโดยพระคลังสินค้ามาเป็นแบบการค้าเสรี การค้าขายขยายตัวกว้างขวางยิ่งขึ้น
4. ระบบการผลิตเริ่มมีการปรับปรุง จากการผลิตแบบยังชีพเป็นการผลิตเพื่อการส่งออก
5. มีการขุดคลองเพื่อการสัญจรและการค้า เช่น คลองผดุงกรุงเกษม คลองหัวลำโพง คลองดำเนินสะดวก คลองภาษีเจริญ คลองมหาสวัสดิ์ คลองเจดีย์บูชา

- สมัยรัชกาลที่ 5
1. ทรงตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ เมื่อ พ.ศ.2416 เป็นสำนักงานกลางเก็บผลประโยชน์และรายได้ต่างๆ ของแผ่นดิน
2. พ.ศ.2435 ให้ยกฐานะหอรัษฎากรพิพัฒน์เป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
3. พ.ศ.2439 กระทรวงพระคลังมหาสมบัติได้จัดทำงบประมาณแผ่นดินเป็นครั้งแรก เพื่อให้การยอมรับว่าเงินของแผ่นดินเป็นไปอย่างรัดกุมและเป็นระเบียบเรียบร้อย
4. นำเงินส่วนพระองค์(ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์)ที่เรียกกันว่าพระคลังข้างที่ออกจากพระคลังมหาสมบัติ และให้พระคลังข้างที่รับผิดชอบโดยตรง เพื่อไม่ให้เกิดการปะปนกับรายได้แผ่นดิน
5. ยกเลิกเจ้าภาษีนายอากร แต่งตั้งข้าหลวงไปประจำทุกมณฑล
6. ปรับปรุงการเงิน เดิมใช้เงินพดด้วงมาเป็นใช้ธนบัตรแทน ใช้เงินเหรียญและสตางค์แทนเงินปลีก (ใช้ระบบทศนิยมแบบมาตราเมตริก คือ 100 สตางค์ เป็น 1 สลึง..)
7. ตั้งธนาคารเอกชนแห่งแรกชื่อบุคคลัภย์ ต่อมาเรียกชื่อว่าแบงค์สยามกัมมาจล ปัจจุบันคือธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
8. ส่งเสริมอาชีพราษฎร ตั้งกรมชลประทานดูแลและจัดหาน้ำ ตั้งกรมโลหะกิจ ดูแลเหมืองแร่ ตั้งกรมป่าไม้ดูแลป่าไม้ ด้านการสื่อสารตั้งกรมไปรษณีย์โทรเลข สร้างทางรถไฟ

- สมัยรัชกาลที่ 6
ตั้งธนาคารออมสิน
ตั้งกรมพาณิชย์และสถิติพยากรณ์
ตั้งกรมสรรพากรและกรมตรวจเงินแผ่นดิน
ในตอนปลายรัชกาลฐานะการคลังของประเทศทรุดลงเนื่องจากสาเหตุการเกิดอุทกภัยและเศรษฐกิจกระทบกระเทือนด้วยวิกฤตการหลังสงครามโลกครั้งที่ 1

- สมัยรัชกาลที่ 7 (ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง)
ประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำอย่างหนักเป็นผลมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1
รัชกาลที่ 7 ทรงแก้ปัญหาด้วยการใช้นโยบายประหยัดดังนี้
2.1 ตัดรายจ่ายที่ฟุ่มเฟือยทั้งส่วนของราชการและราชสำนัก
2.2 ยุบรวมกระทรวง ทบวง กรม
2.3 ปลดข้าราชการเป็นจำนวนมากเพื่อลดค่าใช้จ่าย

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ยุคกลางประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (รัชกาลที่ 4-7)กฎหมายและการศาล - สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นระยะที่ชาวยุโรปเริ่มแสวงหาอาณานิคมลัทธิจักรวรรดินิยมและกำลังขยายเข้ามายังประเทศไทย รัชกาลที่ 4 ทรงตรากฎหมายและประกาศต่างๆ ขึ้นใช้บังคับมากมาย เพื่อให้ทันสมัยเหมาะสมกับบ้านเมือง เช่น พ.ร.บ.มรดกสินเดิมและสินสมรส พ.ร.บ.พระสงฆ์และศิษย์วัด เป็นต้น - สมัยรัชกาลที่ 5 1. ตั้งกระทรวงยุติธรรมให้ดูแลรับผิดชอบในเรื่องศาลทั้งหมด โดยมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระราชโอรสในพระองค์กับเจ้าจอมมารดาตลับ ผู้ซึ่งได้ไปศึกษาวิชากฎหมายจากประเทศอังกฤษ เป็นผู้ช่วยเหลือ และได้แต่งตั้งให้กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พร้อมกับตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายขึ้นและดำเนินการสอนโดยกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (พระบิดาแห่งกฎหมายและศาลไทย) 2. ตรวจชำระกฎหมาย เช่น กฎหมายลักษณะอาญา ซึ่งถือว่าเป็นกฎหมายทันสมัยที่สุดฉบับแรกของไทย ตรากฎหมาย พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ ร.ศ.116 พ.ร.บ.กรรมสิทธิ์ผู้แต่งหนังสือ ร.ศ.120 กฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส พ.ศ.2448 3. ยกเลิกศาลตามกรมกองต่างๆ จัดระเบียบการศาลในกรุงเทพและหัวเมืองให้เป็นระบบเดียวกันทั่วประเทศ แบ่งศาลเป็น 3 ชั้น คือศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา 4. เลิกวิธีการไต่สวนของตุลาการตามระเบียบเดิมที่ใช้จารีตนครบาล (การทรมานร่างกายให้ยอมรับผิด เช่น บีบขมับ ตอกเล็บ เป็นต้น) วางระเบียบไต่สวนแบบอารยประเทศคือให้มีการสืบพยานแทน - สมัยรัชกาลที่ 6 ให้ดำเนินการร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่อจาก สมัยรัชกาลที่ 5ตั้งกรมร่างกฎหมายขึ้น ตรากฎมณเทียรบาลว่าด้วยการสืบสันตติวงศ์ - สมัยรัชกาลที่ 7 ระบบการศาลและกฎหมายยังคงดำเนินตามสมัยที่ผ่านมาการเศรษฐกิจ - สมัยรัชกาลที่ 4 1. อังกฤษขอให้มีการแก้ไขสนธิสัญญาเบอร์นี่ใหม่ ไทยจะไม่ยอมอังกฤษทำท่าว่าจะบังคับ 2. ไทยทำสนธิสัญญาเบาริ่งกับอังกฤษ พ.ศ.2398 มีสาระสำคัญทางด้านเศรษฐกิจดังนี้ 2.1 พ่อค้าอังกฤษเข้ามาค้าขายในประเทศไทยได้โดยเสรีไม่ต้องผ่านคนกลาง 2.2 ไทยเก็บภาษีขาเข้าได้ร้อยละ 3 สำหรับสินค้าขาออกใช้อัตราที่กำหนดไว้ในพิกัดต่อท้ายสัญญา 2.3 ไทยให้สิทธิสภาพนอกอาณาเขตแก่คนในบังคับอังกฤษ สนธิสัญญาเบาริ่งไม่ได้กำหนดเวลาเลิกใช้หรือเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงจะเปลี่ยนได้ก็ต่อเมื่อทั้งสองฝ่ายเห็นชอบ 3. โครงสร้างทางเศรษฐกิจของไทยเริ่มเปลี่ยนแปลง จากการผูกขาดโดยพระคลังสินค้ามาเป็นแบบการค้าเสรี การค้าขายขยายตัวกว้างขวางยิ่งขึ้น 4. ระบบการผลิตเริ่มมีการปรับปรุง จากการผลิตแบบยังชีพเป็นการผลิตเพื่อการส่งออก 5. มีการขุดคลองเพื่อการสัญจรและการค้า เช่น คลองผดุงกรุงเกษม คลองหัวลำโพง คลองดำเนินสะดวก คลองภาษีเจริญ คลองมหาสวัสดิ์ คลองเจดีย์บูชา
- สมัยรัชกาลที่ 5
1. ทรงตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ เมื่อ พ.ศ.2416 เป็นสำนักงานกลางเก็บผลประโยชน์และรายได้ต่างๆ ของแผ่นดิน
2. พ.ศ.2435 ให้ยกฐานะหอรัษฎากรพิพัฒน์เป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
3. พ.ศ.2439 กระทรวงพระคลังมหาสมบัติได้จัดทำงบประมาณแผ่นดินเป็นครั้งแรก เพื่อให้การยอมรับว่าเงินของแผ่นดินเป็นไปอย่างรัดกุมและเป็นระเบียบเรียบร้อย
4. นำเงินส่วนพระองค์(ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์)ที่เรียกกันว่าพระคลังข้างที่ออกจากพระคลังมหาสมบัติ และให้พระคลังข้างที่รับผิดชอบโดยตรง เพื่อไม่ให้เกิดการปะปนกับรายได้แผ่นดิน
5. ยกเลิกเจ้าภาษีนายอากร แต่งตั้งข้าหลวงไปประจำทุกมณฑล
6. ปรับปรุงการเงิน เดิมใช้เงินพดด้วงมาเป็นใช้ธนบัตรแทน ใช้เงินเหรียญและสตางค์แทนเงินปลีก (ใช้ระบบทศนิยมแบบมาตราเมตริก คือ 100 สตางค์ เป็น 1 สลึง..)
7. ตั้งธนาคารเอกชนแห่งแรกชื่อบุคคลัภย์ ต่อมาเรียกชื่อว่าแบงค์สยามกัมมาจล ปัจจุบันคือธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
8. ส่งเสริมอาชีพราษฎร ตั้งกรมชลประทานดูแลและจัดหาน้ำ ตั้งกรมโลหะกิจ ดูแลเหมืองแร่ ตั้งกรมป่าไม้ดูแลป่าไม้ ด้านการสื่อสารตั้งกรมไปรษณีย์โทรเลข สร้างทางรถไฟ

- สมัยรัชกาลที่ 6
ตั้งธนาคารออมสิน
ตั้งกรมพาณิชย์และสถิติพยากรณ์
ตั้งกรมสรรพากรและกรมตรวจเงินแผ่นดิน
ในตอนปลายรัชกาลฐานะการคลังของประเทศทรุดลงเนื่องจากสาเหตุการเกิดอุทกภัยและเศรษฐกิจกระทบกระเทือนด้วยวิกฤตการหลังสงครามโลกครั้งที่ 1

- สมัยรัชกาลที่ 7 (ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง)
ประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำอย่างหนักเป็นผลมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1
รัชกาลที่ 7 ทรงแก้ปัญหาด้วยการใช้นโยบายประหยัดดังนี้
2.1 ตัดรายจ่ายที่ฟุ่มเฟือยทั้งส่วนของราชการและราชสำนัก
2.2 ยุบรวมกระทรวง ทบวง กรม
2.3 ปลดข้าราชการเป็นจำนวนมากเพื่อลดค่าใช้จ่าย

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The medieval history of Thai law (during the reign of law and courts 4-7)

-
. 4 reignAs Europeans began to seek colonial imperialism and expanding into the country during the reign of 4 Royal statute and notices. On the use of force to modern civil suits, such as bill.Reverse mortgage property inheritance and the priests and the monastery boy, etc.
-
1 5 reign.Set up the Ministry of justice to take care of is in charge of all courts, the "Department of Ratchaburi direk Royal activity. His son in him with เจ้าจอมมารดาตลับ. Those who went to study law in England as a helper.With the set up and operation of law school taught by กรมหลวงราชบุรี direk activity. (the father of law and the courts)
.2. Check law, such as criminal law Which is considered to be the most advanced law first edition of legislative act, the local government act, 116 กรรมสิทธิ์ผู้แต่งหนังสือ rs. RS 120 law on abolitionism, the 2448
3.Cancel the courts at the Department of division. Organize the court in Bangkok and the cities into the same system all over the country, divided court is the court of first instance. 3 layer is the court of appeal and the Supreme Court 4
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: