- ทฤษฎีระบบ (System Theory) - ทฤษฎีการบริหารงานตามวัตถุประสงค์ (Manage การแปล - - ทฤษฎีระบบ (System Theory) - ทฤษฎีการบริหารงานตามวัตถุประสงค์ (Manage อังกฤษ วิธีการพูด

- ทฤษฎีระบบ (System Theory) - ทฤษฎี

- ทฤษฎีระบบ (System Theory)
- ทฤษฎีการบริหารงานตามวัตถุประสงค์ (Management by Objective :MBO)
- ทฤษฎีการพัฒนาองค์การ (Organization Development :OD)
- ทฤษฎีการบริหารงานตามสถานการณ์ (Situational or Contingency approach)
Modern Management มีดังนี้
1) Chester I. Barnard ( 1938)
Barnard ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งพฤติกรรมศาสตร์ (Behavior science) เขาเป็นประธานของบริษัท New Jersey Bell ในปี ค.ศ. 1927 เขาใช้ประสบการณ์ในการบริหารงานและการทำงาน ความรู้ทางด้านสังคมวิทยา ปรัชญา สร้างทฤษฎีชีวิตทางด้านองค์การขึ้น
แนวคิดของ Barnard คือ
-องค์การ เป็นโครงสร้างทางสังคม (Social structure) เป็นที่รวมของกายภาพ (เกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต) ชีวภาพ บุคคล และสังคม ซึ่งมีความสลับซับซ้อน และมีพลวัต (แรงและผลของแรง)
-การบริหาร จัดการต้องเป็นไปทั้งระบบ (wholes) มากกว่าเป็นส่วนๆ (piece by piece) ดังเช่นนักทฤษฎีสมัยก่อน เขาได้เน้นเรื่องราวทางด้านจิตวิทยาองค์การ ซึ่งนับได้ว่าเป็นทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม่
-พฤติกรรมศาสตร์ (Behavior science) เห็นว่า คนคือหัวใจของการผลิต เทคโนโลยี กฎที่ทำงานหรือมาตรฐาน ไม่ได้เป็นหลักประกันผลงานที่ดีเสมอไป แต่ผลงานที่ดีจะมาจากการจูงใจคน
-ระบบ (Sytem) หมายถึงสิ่งต่างๆ ที่ต้องพึ่งพากัน และรวมกันเป็นหนึ่งเดียว เช่นร่างกาย
-ระบบบริหารจัดการ (Management system) หมายถึงส่วนต่างๆ จำนวนหนึ่งที่สัมพันธ์และขึ้นอยู่ต่อกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ให้สำเร็จตามความต้องการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ ความสามารถ และความอ่อนไหว ในความรู้สึกของผู้บริหาร จะช่วยให้พนักงานมีความร่วมมือนำไปสู้ผลผลิตที่สูง และจะต้องบริหารทั้งระบบไม่เพียงแต่มนุษยสัมพันธ์เท่านั้น
-การสื่อสาร (Communication) เป็นส่วนสำคัญขององค์การ เพราะจะเชื่อมโยงช่องว่างระหว่างความยินดีที่จะรับใช้กับเป้าหมายขององค์การ

ความยินดีที่จะรับใช้ของเอกบุคคลการ สื่อสารข้อมูล เป้าหมายขององค์การ

รูปแสดง ระบบความร่วมมือของ Barnard
แนวคิดเรื่องระบบทั่วไป Bertalanffy บิดาแห่งทฤษฎีระบบทั่วไป (General systems Theory) อธิบายว่า ถ้าต้องการสิ่งที่รวมกันเป็นส่วนใหญ่ ต้องทราบส่วนย่อยต่างๆ และความสัมพันธ์ระหว่างส่วนย่อยนั้น นักทฤษฎีแนวนี้ เห็นว่าโลกประกอบด้วยระบบต่างๆ มีลำดับชั้น จากระบบเฉพาะเจาะจง ไปสู่ระบบที่มีลักษณะทั่วไป
นอกจากจะมองเป็นระดับแล้ว องค์การยังแบ่งเป็นระบบปิด(Closed system) คือระบบที่พึ่งตนเองได้ และระบบเปิด (Open system) คือระบบที่ต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมเพื่อความอยู่รอด
2) การบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น (Japanese Practice in Management)
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นประสบความสำเร็จทางด้านเศรษฐกิจอย่างมาก มีบริษัทต่างหันมาสนใจรูปแบบการบริหารแบบญี่ปุ่น แต่การบริหารจัดการแบบนั้น ไม่สามารถนำไปใช้ได้หมดกับทุกชาติ ทั้งนี้พบว่าพื้นฐาน ประเพณี วัฒนธรรมของญี่ปุ่น ไม่เหมือนกับชาติอื่น ดังนี้
1. ปัจจัยพื้นฐานของการบริหาร
1.1 ลัทธิกลุ่มนิยม เป็นลักษณะเด่น นิยมทำงานเป็นทีม กลุ่มลงมติ สมาชิกมีความสุขเมื่อได้มีส่วนร่วมในงาน ช่วยเหลือ ประสานงาน ทุกอย่างมีความชัดเจนไม่คลุมเครือ
1.2 สังคมญี่ปุ่นมีลักษณะเด่น เป็นเกาะ เกิดความเข้าใจกัน เชื่อถือกัน ลักษณะองค์การมีการติดต่อสื่อสารที่ดี ง่าย ไม่เป็นทางการ
1.3 มีการฝึกอบรมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
1.4 เน้นทำงานกลุ่ม
1.5 การตัดสินใจโดยการลงมติ 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 ให้ผู้บริหารพิจารณา ส่วนที่ 2 ตัดสินใจ
1.6 การประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีความซับซ้อน
1.7 ให้ผลประโยชน์ตอบแทนที่ดีแก่พนักงาน
1.8 เป็นองค์การแบบง่าย และมีความยึดหยุ่น
1.9 การวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว
1.10 บริษัทเป็นฐานลัทธิ สหภาพแรงงาน
1.11 มีความจงรักภักดีต่อบริษัท
2. ระดับชาติ
2.1 ศาสนาชินโต ไม่มีศาสดา ทำให้ทุกคนรู้สึกเป็นพี่น้องกัน และไม่มีใครอยากเด่น
2.2 การยึดถือดอกไม้ประจำชาติ คือดอกซากุระ เป็นลักษณะดอกไม้ที่เผชิญกับดินฟ้าอากาศ อดทน ออกดอกพร้อมกัน และร่วงพร้อมกัน
3. ระดับคณะกรรมการทั้งรัฐ/เอกชน
3.1 ถือว่าทุกคนในองค์การเป็นสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน
3.2 มุ่งสร้างสัมพันธ์ของคนในองค์การให้กระชับ แน่นแฟ้น สามัคคี
3.3 มีความไว้วางใจกันและกัน สมาชิกมุ่งสร้างความเจริญ ทำกำไรให้องค์การ
3.4 ผู้บริหารและสมาชิกทุกคนยอมสละความสุขส่วนตัว เพื่อมุ่งสร้างความเจริญแก่องค์การ

4. ระดับผู้นำ
4.1 ผู้บริหารเห็นว่าสมาชิก/ลูกน้อง เป็นลูกหลานต้องดูแล
4.2 ผู้บริหารอยู่กับลูกน้องด้วยความเข้าใจ ไม่ใช้อำนาจ
4.3 ผู้บริหารมองคน และความคิดของคน สำคัญกว่าเทคโนโลยี
4.4 ผู้บริหารเชื่อว่าการใช้อำนาจในการปกครองนั้นไม่ดี เป็นการทำลายความคิดของลูกน้อง
4.5 การตัดสินใจในการทำงานใช้การตัดสินใจเป็นกลุ่ม
4.6 ผู้บริหารมักแต่งตั้งจากระดับล่างขึ้นมา
4.7 ผู้นำขอบคุณลูกน้องที่ทำให้งานสำเร็จ ด้วยความเหนื่อยยาก
4.8 ความสำเร็จและความล้มเหลวขึ้นอยู่กับผู้นำว่าเห็นคุณค่าของลูกน้องเพียงไหน
5. ระดับสมาชิก/พนักงาน
5.1 ทำงานหนัก และมีมานะอดทน
5.2 คนญี่ปุ่นถือว่าการทำงานเป็นทีมเป็นเรื่องปกติ ไม่คอยปัดแข็งปัดขา กลั่นแกล้ง อยากเด่นคนเดียว
3) ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ (Situation or Contingency Approach)
ทฤษฎีนี้ เริมนำมาใช้ใน ค.ศ. 1870 ด้วยนักวิชาการ ไม่เห็นด้วยกับการมีกฎเกณฑ์ หรือมีหนทางเดียวในการปฏิบัติงาน ทฤษฎีนี้เห็นว่า การบริหารจัดการย่อมขึ้นกับสถานการณ์ เป็นลักษณะทฤษฎีที่ปรานีปรานอม ระหว่าทฤษฎีระบบเปิดกว้าง และเป็นนามธรรม กับความเชื่อที่ว่าการปฏิบัติงานขึ้นอยู่กับแต่ละสถานการณ์โดยเฉพาะ และไม่มองกว้างเหมือนทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ เป็นวิธีวิเคราะห์ที่กระทำในระดับที่เหมาะสม สามารถพิจารณาปัญหาได้ดี ไม่กว้าง หรือเฉพาะจุดเกินไป มีความสมดุลระหว่างหลายๆด้าน คือสามารถพิจารณาปัญหาได้กระจ่างและง่าย สามรถใช้หลักวิชาอย่างถูกต้องเหมาะสม และยังสามารถพิจารณาสิ่งที่ยุ่งยาก สับสนไม่ชัดเจน ไปพร้อมกัน
ทฤษฎีนี้ สามารถรับรู้ปัญหาที่ยุ่งยากสับสน ช่วยในการเชื่อมโยงทฤษฎีการบริหารที่เป็นศาสตร์ วิชาการสามารถนำไปสถานการณ์ต่างๆได้โดยตรง ช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจว่าจะใช้เทคนิคอะไร อย่างไรจึงจะให้องค์การบรรลุผลสำเร็จ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
-Theory (System Theory). -Theory of management by objective (MBO: Management by Objective).-The theory of Development Organization (Organization Development: OD)-Theory of management based on the situation (Situational or Contingency approach).Modern Management are as follows:1) Chester I. Barnard ( 1938) Barnard has been heralded as a behavioral science his father built, he is the President (Behavior science) of New Jersey Bell company in 1927, he used the experience in administration and operation. Knowledge of sociology, philosophy of life, the organization created a theory.Barnard's concept is.-Organization of a social structure (Social structure) is a combination of physical (about not living) human and social development, which have biological complexity and has a dynamic (and the result of the force). -Administration Management system requirements (wholes) rather than the typical (piece by piece), as "theoretical mathematician. He highlighted the story of Psychology organisation, that is the theory of modern management.-Behavioral Sciences (Behavior science) think is the heart of the production technology of rules or standards. Does not guarantee good results, but the good works always come from persuading people.-(Sytem) refers to the things that have to rely on each other and together as one, such as the body.-Management system (Management system) refers to a number of associated parts and a. in order to perform one or several, on-demand success to achieve the goals of the Organization and sensitivity in the sense of an Executive to help employees fight is cooperation led to a high output and to tongborihan the whole system not only human relations only.-Communication (Communication) is an important part of the organization because of the link between the pleasure to serve with an organization's goals.Welcome to ekbukkhon your communication goals of the organization.Image display system, Barnard's cooperation.Concept of general system theory of general systems, excellent father Bertalanffy (General systems Theory) to explain that if you want something that is most. Need to know the granularity and relationship between subsections. This theory sees the world traveler contains various system has a hierarchy from a particular system to a system that has common characteristics.In addition to looking at. The organization is divided into closed system (Closed system) is a system where the self-reliance, and open systems (Open system) is a system that must rely on the environment to survive.2.) the Japan management (Management Practice in Japanese).After World War 2 Japan economic success very much. Foreign companies have become interested in Japan, but the management style of management. Not applicable to every country on this basis, it was found that. The tradition culture of Japan is not the same as any other nation. Is as follows:1. fundamentals of management1.1 cult Islamists are popular features such as voting groups. Members are happy to participate in helping to coordinate tasks, everything is clear, not ambiguous.1.2 Japan Society is a. Understand organizational behavior has just held together, communication is not good.1.3 with training and ongoing development.1.4 working group focused1.5 a decision by voting was part 2 part 1, management considered. Section 2 decisions.1.6 evaluation of complicated operations1.7 provide good benefits to employees1.8 is a simple and an organization based on flexible.Strategic planning, long term 1.91.10 the company a burgeoning labor unions1.11 there is loyalty towards the company.2. national level 2.1 ศาสนาชินโต ไม่มีศาสดา ทำให้ทุกคนรู้สึกเป็นพี่น้องกัน และไม่มีใครอยากเด่น2.2 การยึดถือดอกไม้ประจำชาติ คือดอกซากุระ เป็นลักษณะดอกไม้ที่เผชิญกับดินฟ้าอากาศ อดทน ออกดอกพร้อมกัน และร่วงพร้อมกัน3. ระดับคณะกรรมการทั้งรัฐ/เอกชน3.1 ถือว่าทุกคนในองค์การเป็นสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน3.2 มุ่งสร้างสัมพันธ์ของคนในองค์การให้กระชับ แน่นแฟ้น สามัคคี3.3 มีความไว้วางใจกันและกัน สมาชิกมุ่งสร้างความเจริญ ทำกำไรให้องค์การ3.4 ผู้บริหารและสมาชิกทุกคนยอมสละความสุขส่วนตัว เพื่อมุ่งสร้างความเจริญแก่องค์การ4. ระดับผู้นำ4.1 ผู้บริหารเห็นว่าสมาชิก/ลูกน้อง เป็นลูกหลานต้องดูแล
4.2 ผู้บริหารอยู่กับลูกน้องด้วยความเข้าใจ ไม่ใช้อำนาจ
4.3 ผู้บริหารมองคน และความคิดของคน สำคัญกว่าเทคโนโลยี
4.4 ผู้บริหารเชื่อว่าการใช้อำนาจในการปกครองนั้นไม่ดี เป็นการทำลายความคิดของลูกน้อง
4.5 การตัดสินใจในการทำงานใช้การตัดสินใจเป็นกลุ่ม
4.6 ผู้บริหารมักแต่งตั้งจากระดับล่างขึ้นมา
4.7 ผู้นำขอบคุณลูกน้องที่ทำให้งานสำเร็จ ด้วยความเหนื่อยยาก
4.8 ความสำเร็จและความล้มเหลวขึ้นอยู่กับผู้นำว่าเห็นคุณค่าของลูกน้องเพียงไหน
5. ระดับสมาชิก/พนักงาน
5.1 ทำงานหนัก และมีมานะอดทน
5.2 คนญี่ปุ่นถือว่าการทำงานเป็นทีมเป็นเรื่องปกติ ไม่คอยปัดแข็งปัดขา กลั่นแกล้ง อยากเด่นคนเดียว
3) ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ (Situation or Contingency Approach)
ทฤษฎีนี้ เริมนำมาใช้ใน ค.ศ. 1870 ด้วยนักวิชาการ ไม่เห็นด้วยกับการมีกฎเกณฑ์ หรือมีหนทางเดียวในการปฏิบัติงาน ทฤษฎีนี้เห็นว่า การบริหารจัดการย่อมขึ้นกับสถานการณ์ เป็นลักษณะทฤษฎีที่ปรานีปรานอม ระหว่าทฤษฎีระบบเปิดกว้าง และเป็นนามธรรม กับความเชื่อที่ว่าการปฏิบัติงานขึ้นอยู่กับแต่ละสถานการณ์โดยเฉพาะ และไม่มองกว้างเหมือนทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ เป็นวิธีวิเคราะห์ที่กระทำในระดับที่เหมาะสม สามารถพิจารณาปัญหาได้ดี ไม่กว้าง หรือเฉพาะจุดเกินไป มีความสมดุลระหว่างหลายๆด้าน คือสามารถพิจารณาปัญหาได้กระจ่างและง่าย สามรถใช้หลักวิชาอย่างถูกต้องเหมาะสม และยังสามารถพิจารณาสิ่งที่ยุ่งยาก สับสนไม่ชัดเจน ไปพร้อมกัน
ทฤษฎีนี้ สามารถรับรู้ปัญหาที่ยุ่งยากสับสน ช่วยในการเชื่อมโยงทฤษฎีการบริหารที่เป็นศาสตร์ วิชาการสามารถนำไปสถานการณ์ต่างๆได้โดยตรง ช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจว่าจะใช้เทคนิคอะไร อย่างไรจึงจะให้องค์การบรรลุผลสำเร็จ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
- system theory (System Theory)
- theory of management by objective (Management by Objective: MBO)
- theory of organization development (Organization. Development: OD)
- theory of administration according to the situation (Situational or Contingency approach)
Modern Management are as follows:
1 Chester.) I. Barnard (1938)
.Barnard has been hailed as the father of Behavioral Science (Behavior Science), he is the president of the company New Jersey Bell in 1975.1927 he experience in administration and working knowledge of sociology, philosophy, theory of organizational life building up
concept. Barnard is
.- the organization is a social structure (Social structure) is a combination of physical (about inanimate) biological, individual and society, which is complicated. And a dynamic force and the effect of the force ()
.- management is the whole system (wholes) rather than the other (piece by piece) as a theorist in the past. He has focused on the story of psychology, organization. Which is the theory of modern management
.- Behavioral Science (Behavior Science) that people are the heart of the production technology, the rules work or standard is not guarantee good performance continually. But the good work from people motivation
.- system (Sytem) refers to the things that must rely on each other and together as one, such as body
.- management system (Management system) refers to various parts. A number of related and depending on each other as one. To do one or several done according to demand.The ability and sensitivity in the sense of administrators. To help employees have cooperation lead to high yield. And to manage the system not only human only
.- Communication (Communication) is an important part of the organization. It will link the gap between the pleasure to serve on the goal of organization

glad to serve the individual to communicate information. The goal of the organization

.Image display system of cooperation Barnard
.The concept of the general system Bertalanffy father of general system theory (General systems Theory) explains that if you want something together. To know the various subsets and the relation between the fraction that theorists this stuff.The hierarchy of system specific to the system with general appearance
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: