ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ บทที่ 1บทที่ 1บทนำ  การแปล - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ บทที่ 1บทที่ 1บทนำ  อังกฤษ วิธีการพูด

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพัน

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ บทที่ 1
บทที่ 1
บทนำ

คำกล่าวของอริสโตเติ้ล (Aristotle) นักปราญช์ชาวกรีกโบราณเมื่อ 400 – 300 ปีก่อนคริสตกาล ว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม” นั้น (Wikipedia, 2011) ย่อมแสดงให้เห็นว่า มนุษย์ไม่สามารถอยู่อย่างโดดเดี่ยวเพียงลำพังได้ มนุษย์ต้องอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน หรือสร้างความเจริญต่างๆ ในสังคม นอกเหนือจากการติดต่อกันระหว่างมนุษย์ภายในกลุ่ม หรือสังคมเดียวกันแล้ว ตั้งแต่ยุคอารยธรรมโบราณ มนุษย์ยังติดต่อสื่อสารและสร้างสายสัมพันธ์สมาคมกับสังคมอื่นๆ เช่นที่ปรากฎในอารยธรรมจีนโบราณ ตามเส้นทางสายไหมหรือเส้นทางแพรไหม (Silk Road) ชาวจีนได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างประเทศ โดยใช้เส้นทางทางบกในการเดินทางผ่านประเทศต่างๆ ไปยังเอเชียกลางจนไปสิ้นสุดที่ยุโรป และความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นมิได้เกิดขึ้นเพียงมิติทางการค้าเพียงเท่านั้น แต่ยังปรากฎในมิติอื่นๆ เช่น การทูต การเมือง สังคม ศาสนา วัฒนธรรม นอกจากนี้ อาเธอร์ เอ. นัสบัม (Arthur A. Nussbaum) และ แฟรงค์ ดับเบิ้ลยู รัสเซล (Frank W. Russell) กล่าวว่า มนุษย์ได้เขียนถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาเป็นระยะเวลากว่าสี่พันปี (ศิโรตม์ ภาคสุวรรณ, 2542, หน้า 7)
หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในด้านความรู้ทั่วไป แนวคิด ทฤษฎี ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดความสัมพันธ์ พฤติกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินความสัมพันธ์ การต่างประเทศของไทย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับรัฐชาติต่างๆ ทั้งนี้ก็เพื่อให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้มากยิ่งขึ้น และบทสุดท้ายผู้เขียนได้วิเคราะห์สถานการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในอนาคตไว้อีกด้วย


ความหมาย
ก่อนที่จะทำความเข้าใจในหลักการต่างๆ ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้น เราคงต้องทราบถึงความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเสียก่อน ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้น มี 2 นัย ได้แก่
1. นัยของสาขาวิชา
ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ถือเป็นศาสตร์หนึ่งนั้น ได้มีผู้ให้ความหมาย เช่น
1.1 The Columbia Encyclopedia ให้ความหมายว่า “วิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐชาติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและเศรษฐกิจในระบบระหว่างประเทศ” (The Columbia Encyclopedia, 2005)
1.2 Absolute Astronomy Reference กล่าวว่า “วิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นส่วนหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับนโยบายต่างประเทศของรัฐชาติภายในระบบระหว่างประเทศ รวมถึงบทบาทขององค์การระหว่างประเทศ (International Organizations: IOs) องค์การที่ไม่ใช่รัฐชาติ (Non-governmental organizations: NGOs) และบรรษัทข้ามชาติ (Multinational Corporations: MNCs) (Absolute Astronomy Reference, 2005)
1.3 Wikipedia Encyclopedia นิยามว่า “วิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง กิจกรรมต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐชาติทั้งหลายภายในระบบระหว่างประเทศ รวมถึงบทบาทของรัฐชาติ, องค์การระหว่างรัฐ (Inter-governmental organizations: IGOs), องค์การระหว่างประเทศที่ไม่ใช่รัฐ (International non-governmental organizations: INGOs) องค์การที่ไม่ใช่รัฐ (Non-governmental organizations: NGOs) และบรรษัทข้ามชาติ (multi-nation corporations: MNCs) โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 หลักใหญ่ๆ ได้แก่ หลักวิชาการ กับ หลักนโยบายสาธารณะ และศึกษาได้เป็น 2 ลักษณะ คือ แบบปทัสถาน (Normative) หรือ แบบปฏิฐาน (Positive) การวิเคราะห์ด้วยหลักการต่างๆ สามารถนำมาจัดทำเป็นนโยบายการต่างประเทศได้อย่างดี สำหรับการศึกษาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นสาขาหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ จะยึดหลักการศึกษาแบบสหวิทยาการ” (Wikipedia, 2011)
จะเห็นได้ว่าความหมายทั้ง 3 ข้างต้น ได้ให้ความหมายของวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามนัยของสาขาวิชานั้นใกล้เคียงกันพอสมควร และการศึกษาเกี่ยวกับวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มักศึกษาอยู่ในชั้นเรียนของวิชารัฐศาสตร์หรือคณะรัฐศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ อาจสรุปได้ว่าวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นส่วนหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับนโยบายต่างประเทศและตัวแสดงทั้งที่เป็นรัฐชาติและไม่ใช่รัฐชาติ

2. นัยของพฤติกรรม
จากความหมายตามนัยนี้ นักวิชาการรัฐศาสตร์ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ให้ความหมายไว้ต่างๆ กัน ดังนี้
2.1 คาร์ล ดับเบิ้ลยู ดอยช์ (Karl W. Deutsch) กล่าวว่า “เป็นพฤติกรรมและการกระทำต่างๆ ของรัฐชาติหนึ่งที่มีต่อรัฐชาติหนึ่งโดยปราศจากการควบคุมอย่างเพียงพอ” (Deutsch, 1988, p. IX)
2.2 คอนเวย์ ดับเบิ้ลยู เฮนเดอร์สัน (Conway W. Henderson) ได้ให้ความหมายว่า “การศึกษาว่าใครได้อะไร เมื่อใดและอย่างไร ทั้งที่เกี่ยวข้องกับตัวแสดงที่เป็นรัฐชาติและที่ไม่ใช่รัฐชาติทั้งหลาย” (Henderson, 1998, p. 27)
2.3 โจชัว เอส โกลด์สไตน์ (Joshua S. Goldstein) ระบุว่า “ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะสนใจศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลของรัฐชาติต่างๆ ที่เป็นชาติสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ แต่การศึกษาความสัมพันธ์เหล่านี้เพียงอย่างเดียวไม่อาจทำความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้งเพียงพอ หากแต่เราต้องศึกษาถึงตัวแสดงอื่นๆ เช่น องค์การสหประชาชาติ บรรษัทข้ามชาติ และปัจเจกบุคคลด้วย อีกทั้งต้องศึกษาโครงสร้างทางสังคม เช่น เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองภายในรัฐชาติ นอกจากนี้ยังต้องศึกษาด้านภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ที่ครอบงำในสังคมนั้นๆ ด้วย” (Goldstein, 1996, p. 3)
จากความหมายทั้ง 3 ข้างต้น เราสามารถพอที่จะสรุปความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือ “กิจกรรมที่ตัวแสดงระหว่างประเทศต่างๆ ได้แสดงพฤติกรรมหรือการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งต่อตัวแสดงอื่นๆ โดยตัวแสดงทั้งหลายอาจเป็นรัฐชาติ หรือไม่ใช่ร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Basic knowledge about the relationship between the countries. Chapter 1Chapter 1Introduction คำกล่าวของอริสโตเติ้ล (Aristotle) นักปราญช์ชาวกรีกโบราณเมื่อ 400 – 300 ปีก่อนคริสตกาล ว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม” นั้น (Wikipedia, 2011) ย่อมแสดงให้เห็นว่า มนุษย์ไม่สามารถอยู่อย่างโดดเดี่ยวเพียงลำพังได้ มนุษย์ต้องอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน หรือสร้างความเจริญต่างๆ ในสังคม นอกเหนือจากการติดต่อกันระหว่างมนุษย์ภายในกลุ่ม หรือสังคมเดียวกันแล้ว ตั้งแต่ยุคอารยธรรมโบราณ มนุษย์ยังติดต่อสื่อสารและสร้างสายสัมพันธ์สมาคมกับสังคมอื่นๆ เช่นที่ปรากฎในอารยธรรมจีนโบราณ ตามเส้นทางสายไหมหรือเส้นทางแพรไหม (Silk Road) ชาวจีนได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างประเทศ โดยใช้เส้นทางทางบกในการเดินทางผ่านประเทศต่างๆ ไปยังเอเชียกลางจนไปสิ้นสุดที่ยุโรป และความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นมิได้เกิดขึ้นเพียงมิติทางการค้าเพียงเท่านั้น แต่ยังปรากฎในมิติอื่นๆ เช่น การทูต การเมือง สังคม ศาสนา วัฒนธรรม นอกจากนี้ อาเธอร์ เอ. นัสบัม (Arthur A. Nussbaum) และ แฟรงค์ ดับเบิ้ลยู รัสเซล (Frank W. Russell) กล่าวว่า มนุษย์ได้เขียนถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาเป็นระยะเวลากว่าสี่พันปี (ศิโรตม์ ภาคสุวรรณ, 2542, หน้า 7) This book contains content related to international relations in the field of General knowledge. Concept The theory of factors that determine the behaviour, relationships, actions, tools used in the relationship. Foreign Affairs of Thailand The relationship between the country with the nation-State Thailand to give the reader an understanding about the relationship between the countries, and even more, the last chapter, the authors have analyzed the relationship between country situations in the future.The meaning of Before understanding the various principles of the relationship between the country. We must know the meaning of the relationship between the countries first. The meaning of the relationship between the country. There are 2 implicitly include:1. subjects of implied.The meaning of the relationship between the countries is considered as one of the sciences, it has a meaning, such as.The Columbia Encyclopedia, 1.1 means "major international relations is the relationship between the nation State education relating to politics and the economy in the international system" (The Columbia Encyclopedia, 2005).1.2 Absolute Astronomy Reference says "the major relationships between countries as part of a political science major, which is associated with the foreign policy of a nation State within the international system, including the role of the International Organization (International Organizations: IOs) organization that is not a nation-State (Non-governmental organizations: NGOs), and multinational corporation (Multinational Corporations: MNCs) (Absolute Astronomy Reference, 2005).1.3 Wikipedia Encyclopedia นิยามว่า “วิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง กิจกรรมต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐชาติทั้งหลายภายในระบบระหว่างประเทศ รวมถึงบทบาทของรัฐชาติ, องค์การระหว่างรัฐ (Inter-governmental organizations: IGOs), องค์การระหว่างประเทศที่ไม่ใช่รัฐ (International non-governmental organizations: INGOs) องค์การที่ไม่ใช่รัฐ (Non-governmental organizations: NGOs) และบรรษัทข้ามชาติ (multi-nation corporations: MNCs) โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 หลักใหญ่ๆ ได้แก่ หลักวิชาการ กับ หลักนโยบายสาธารณะ และศึกษาได้เป็น 2 ลักษณะ คือ แบบปทัสถาน (Normative) หรือ แบบปฏิฐาน (Positive) การวิเคราะห์ด้วยหลักการต่างๆ สามารถนำมาจัดทำเป็นนโยบายการต่างประเทศได้อย่างดี สำหรับการศึกษาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นสาขาหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ จะยึดหลักการศึกษาแบบสหวิทยาการ” (Wikipedia, 2011) It can be seen that all three of the above have meaning, the meaning of major international relations department, then as similar enough. And education about subjects usually studied international relations is in a class of subjects, political science or political science faculty is most. May conclude that major foreign relations as part of a political science major, which is often associated with foreign policy and both the viewer and the nation-State is not the nation-State?2. implicit behaviorFrom this meaning as Academics, political science, international relations, different.2.1 w Carl (Karl W. Deutsch), Deutsche said, "is the behaviour and actions of one nation-State toward one nation-State without adequate control" (Deutsch, 1988, p. IX).2.2 w Henderson Conway (Conway W. Henderson), means "education who has what when and how all that relates to the Viewer as a nation-State, and that not all the nation-State" (Henderson, 1998, p. 27).2.3 โจชัว เอส โกลด์สไตน์ (Joshua S. Goldstein) ระบุว่า “ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะสนใจศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลของรัฐชาติต่างๆ ที่เป็นชาติสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ แต่การศึกษาความสัมพันธ์เหล่านี้เพียงอย่างเดียวไม่อาจทำความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้งเพียงพอ หากแต่เราต้องศึกษาถึงตัวแสดงอื่นๆ เช่น องค์การสหประชาชาติ บรรษัทข้ามชาติ และปัจเจกบุคคลด้วย อีกทั้งต้องศึกษาโครงสร้างทางสังคม เช่น เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองภายในรัฐชาติ นอกจากนี้ยังต้องศึกษาด้านภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ที่ครอบงำในสังคมนั้นๆ ด้วย” (Goldstein, 1996, p. 3) จากความหมายทั้ง 3 ข้างต้น เราสามารถพอที่จะสรุปความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือ “กิจกรรมที่ตัวแสดงระหว่างประเทศต่างๆ ได้แสดงพฤติกรรมหรือการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งต่อตัวแสดงอื่นๆ โดยตัวแสดงทั้งหลายอาจเป็นรัฐชาติ หรือไม่ใช่ร
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: