บทคัดย่อการออกแบบพัฒนาโครงสร้างและชิ้นส่วนภายในโครงสร้างให้มีประสิทธิภ การแปล - บทคัดย่อการออกแบบพัฒนาโครงสร้างและชิ้นส่วนภายในโครงสร้างให้มีประสิทธิภ อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อการออกแบบพัฒนาโครงสร้างและช

บทคัดย่อ

การออกแบบพัฒนาโครงสร้างและชิ้นส่วนภายในโครงสร้างให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง เพื่อลดความเสี่ยงของอุบัติเหตุที่เกิดจากการกระแทรกหรือการชน ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดบาดเจ็บและความสูญเสียชีวิตของผู้ใช้ยานพาหนะ ดังนั้นจึงได้มีการทดลองหาชิ้นส่วนที่มีความสามารถในการลดความเสียหายจากการกระแทรกหรือการชนของโครงสร้างที่เรียกว่า“ตัวดูดซับพลังงาน”มาใช้ในโครงสร้างเพื่อให้ตัวดูดซับพลังงานช่วยดูดซับพลังงานจากการชนหรือการกระแทรกและลดความเสียหายของโครงสร้างหลักเพื่อลดการสูเสียในชีวิตและทรัพสินย์จากอุบัติเหตุที่เกิดจากการชนหรือการกระแทรก โดยตัวแปรที่มีผลต่อความสามารถในการดูดซับพลังงานของตัวดูดซับพลังงาน ได้แก่ รูปร่าง ชนิดวัสดุ ความหนา ขนาด และพฤติกรรมความเสียหาย เป็นต้น
ในการทดทองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสามารถในการดูดซับพลังงานของท่อผนังบางซึ่งเป็นท่ออลูมิเนียมเติมโฟมพลียูเรเทนภายใต้แรงบิด(Torsion)โดยใช้การจำลองในโปรแกรมอบาคัสและการทดลองชิ้นงานจริงเพื่อเปรียบเทียบกัน โดยรูปร่างหน้าตัดของท่อที่ใช้ทดลอง ได้แก่ รูปร่างหน้าตัตสี่เหลี่ยม รูปร่างหน้าตัดหกเหลี่ยม รูปร่างหน้าตัตแปดเหลี่ยม และรูปร่างหน้าตัดวงกลม ความหนาแน่นของโฟมที่ใช้ทดลองคือ50kg/m¬3,75kg/m3,100kg/m3 จากการวิเคราะห์ภายใต้แรงบิดพบว่า ท่อรูปร่างหน้าตัดวงกลมมีค่าการดูดซับพลังงานสูงที่สุดรองลงมาเป็นท่อรูปร่างหน้าตัตแปดเหลี่ยม รูปร่างหน้าตัดหกเหลี่ยม และท่อรูปร่างหน้าตัตสี่เหลี่ยมมีค่าการดูดซับพลังงานน้อยที่สุด จากการวิเคราะห์ค่าความหนาแน่นโฟมที่ใช้เติมในท่อ 50kg/m-3,75kg/m3,100kg/m3 ความหนาแน่นของโฟมที่ทำให้ท่ออลูมิเนียมมีค่าการดูดซับพลังงานที่สุงที่สุดคือ100kg/m3และพบว่าความหนาแน่นโฟมที่สูงจะทำให้ค่าการดูดซับพลังงานสูงขึ้น





0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Abstractการออกแบบพัฒนาโครงสร้างและชิ้นส่วนภายในโครงสร้างให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง เพื่อลดความเสี่ยงของอุบัติเหตุที่เกิดจากการกระแทรกหรือการชน ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดบาดเจ็บและความสูญเสียชีวิตของผู้ใช้ยานพาหนะ ดังนั้นจึงได้มีการทดลองหาชิ้นส่วนที่มีความสามารถในการลดความเสียหายจากการกระแทรกหรือการชนของโครงสร้างที่เรียกว่า“ตัวดูดซับพลังงาน”มาใช้ในโครงสร้างเพื่อให้ตัวดูดซับพลังงานช่วยดูดซับพลังงานจากการชนหรือการกระแทรกและลดความเสียหายของโครงสร้างหลักเพื่อลดการสูเสียในชีวิตและทรัพสินย์จากอุบัติเหตุที่เกิดจากการชนหรือการกระแทรก โดยตัวแปรที่มีผลต่อความสามารถในการดูดซับพลังงานของตัวดูดซับพลังงาน ได้แก่ รูปร่าง ชนิดวัสดุ ความหนา ขนาด และพฤติกรรมความเสียหาย เป็นต้น ในการทดทองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสามารถในการดูดซับพลังงานของท่อผนังบางซึ่งเป็นท่ออลูมิเนียมเติมโฟมพลียูเรเทนภายใต้แรงบิด(Torsion)โดยใช้การจำลองในโปรแกรมอบาคัสและการทดลองชิ้นงานจริงเพื่อเปรียบเทียบกัน โดยรูปร่างหน้าตัดของท่อที่ใช้ทดลอง ได้แก่ รูปร่างหน้าตัตสี่เหลี่ยม รูปร่างหน้าตัดหกเหลี่ยม รูปร่างหน้าตัตแปดเหลี่ยม และรูปร่างหน้าตัดวงกลม ความหนาแน่นของโฟมที่ใช้ทดลองคือ50kg/m¬3,75kg/m3,100kg/m3 จากการวิเคราะห์ภายใต้แรงบิดพบว่า ท่อรูปร่างหน้าตัดวงกลมมีค่าการดูดซับพลังงานสูงที่สุดรองลงมาเป็นท่อรูปร่างหน้าตัตแปดเหลี่ยม รูปร่างหน้าตัดหกเหลี่ยม และท่อรูปร่างหน้าตัตสี่เหลี่ยมมีค่าการดูดซับพลังงานน้อยที่สุด จากการวิเคราะห์ค่าความหนาแน่นโฟมที่ใช้เติมในท่อ 50kg/m-3,75kg/m3,100kg/m3 ความหนาแน่นของโฟมที่ทำให้ท่ออลูมิเนียมมีค่าการดูดซับพลังงานที่สุงที่สุดคือ100kg/m3และพบว่าความหนาแน่นโฟมที่สูงจะทำให้ค่าการดูดซับพลังงานสูงขึ้น




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract design, development, structure and internal parts of the structure to be effective and safe. To reduce the risk of accidents caused by the actions or the insert. Which has resulted in injury and loss of life of the vehicle. So it was a trial for the parts that are able to minimize the damage from any inserts or the bump of a structure called the "energy absorbing" into the structure in order to absorb energy absorbing energy. by collisions or action insertion and reduce structural damage, primarily to reduce the cost in lives and resources into product series of accidents caused by collision or action insert. The variables that affect the ability to absorb the energy of an energy absorbing material such as shape, size, thickness and behavioral damage. Etc. to carry gold is aimed at determining the energy absorption of the pipe walls, a tubular aluminum filler foam give Polyurethane under Torque (Torsion) using simulation in Abacus. and compared to the actual experimental work. The cross-sectional shape of the pipe at the trial, including the rectangular shape probe. Hexagonal cross-sectional shape The octagonal shape probe And a circular cross-sectional shape The density of the foam test is 50kg / m¬3,75kg / m3,100kg / m3. The analysis found that under torque. The circular pipe cross-sectional shape to absorb energy, the highest status a pipe shape of an octagon. Hexagonal cross-sectional shape The rectangular tubular shape and each has the power to absorb a minimum. The analysis of the density of the foam used to fill the pipeline. 50kg / m-3,75kg / m3,100kg / m3. The density of the foam pipe, aluminum is the optimum energy absorption is 100kg / m3 and a high density foam will absorb higher energy costs.








การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: