Air freshener herbIntroductionTo buy deodorant, toilet cleaners, according to the market price will be applied, most of which are produced by the chemical causing the harmful environment. The Board of education who make everything easy to find local herbs and fragrant herbs such as Pandan leaf lemon skin Ma Kut studies to compare the appropriate quantity and types of herbs that can get rid of the odor in places such as the bathroom. Places that smellFrom the study it was found that the herbal extracts in the appropriate quantities, can get rid of the smell, well, is the ratio between the herbs 20 g per 200 ml of alcohol and herbs that get rid of the smell is the best skin extract Ma Kut by studying the properties of herbs are used to find air conditioning filter type 3:1. spray herbal from lemon grass2. spray herbal from bergamot3. herbal conditioner from chewing gum. สมุนไพร (Medicinal Plant หรือ Herb) กาเนิดจากธรรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะในมิติทางสุขภาพในการหาวิธีการในการทาสเปรย์กาจัดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ในห้องต่างๆและผลพลอยได้คือการไล่ยุงผู้ที่สนใจในด้านสุขภาพได้หันมาใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่มีอยู่ทั่วไปในครัวเรือนแทนการใช้สารเคมีที่มีราคาสูงเพราะสมุนไพรสามารถหาได้ง่ายและสามารถปลูกเองได้และเป็นการช่วยลดต้นทุนในการผลิตและการเพาะปลูกได้อีกทั้งยังส่งผลด้านสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภคสมุนไพรที่สามารถนามาใช้ในการทาสเปรย์กาจัดกลิ่น (ไล่ยุง) เป็นที่รู้จักกันดีทั่วไปและใช้ปรุงเป็นอาหารประเภทต้มยาได้แก่ตะไคร้มะกรูดและฝรั่งซึ่งมีสรรพคุณดังนี้1. herbal conditioner from lemon grassCompany: Ta khrai (lemon grass is a plant, spices and herbs.) Scientific names Cymbopogon citrates (DC.exNees) Stapf. Name of the Gramineae family.The name Lemon grass, Citronella, British West Indian lemongrass.The name of the other sharp fragrance (Chan, bent-son), Kai (Malay, South) are consummate CAI (Northern), Angel lookin KOEI รย sen a gate (Surin) Wrap the water TA (Karen-son) Hua Kai sing (Khmer-10). The root of the activity template.It was found that there are more volatile, it is about 0.16% more volatile, such as citraleugenol, geraniol, inalool, camphor.2. property.2.1. gas-tight stomach bloating cure heartburn symptom resolution kreng and wind-driven sweat.2.2. as a diuretic to resolve kidney stones cure urinal disability, reduce urine as cure high blood pressure.2.3. the use of adding flavor to food use food use smell as a mixture of various spices.3. the botanical path characteristics.ตะไคร้เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประเภทล้มลุกเจริญเติบโตรวมอยู่เป็นกอใบและหัวมีกลิ่นหอมรากเป็นระบบรากฝอยลำต้นอยู่บนดินรวมกันเป็นกอแน่นมีสีเขียวและม่วงอ่อนลาต้นเป็นรูปทรงกระบอกมีลักษณะแข็งเกลี้ยงตามปล้องมักมีไขปกคลุมลาต้นสูงได้ถึง 1 เมตรใบเป็นใบเดี่ยวมีลักษณะยาวเรียวคล้ายใบข้าวใบรูปขอบขนาดแคบใบกว้างประมาณ 2 เซนติเมตรยาวได้ถึง 100 เซนติเมตรปลายใบแหลมผิวใบทั้งสองด้านมีลักษณะสากมือเส้นกลางใบแข็งตรงรอยต่อระหว่างกากใบและตัวใบมีเกล็ดบางๆยาวประมาณ 2 มิลลิเมตรตามขอบใบมีขนเล็กน้อยดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ช่อดอกย่อยมีก้านออกเป็นคู่ๆแต่ละคู่รองรับด้วยใบประดับช่อดอกย่อยประกอบด้วยดอกย่อยออกเป็นคู่ๆดอกหนึ่งมีก้านอีกดอกหนึ่งไม่มีก้านภายในดอกย่อยแต่ละดอกประกอบด้วยดอกเล็กๆ 2 ดอกดอกล่างลดรูปมีเพียงเกลีบเดี่ยวโปร่งแสงปลายแหลมเรียวดอกบนในดอกย่อยที่ไม่มีก้านจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศส่วนดอกบนของดอกย่อยที่มีก้านจะเป็นดอกเพศผู้หรือเป็นหมันผลมีขนาดเล็กเปลือกบางๆห่อหุ้มเมล็ดมีแป้งสะสมค่อนข้างมาก4.สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตะไคร้เป็นพืชที่ปลูกง่ายงอกงามดีในดินเกือบทุกชนิดยกเว้นดินเหนียว 2.1.4 นิเวศวิทยาแหล่งกาเนิดที่แน่นอนไม่ทราบแน่ชัดคาดว่าน่าจะเป็นมาเลเซียตะไคร้เป็นพืชที่รู้จักและปลูกในหลายๆประเทศในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อมามีการนาไปยังอเมริกาใต้และกลางและไปยังมาดากัสการ์หมู่เกาะใกล้เคียงจนกระทั่งในอัฟริกาปัจจุบันมีการปลูกทั่วไปในเขตร้อนและกึ่งร้อนอินเดียและใกล้เคียงหมู่เกาะของประเทศศรีลังกาคาบสมุทรมาเลย์แล้วแพร่กระจายไปปลูกในประเทศเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในทวีปเอเชียอเมริกาอัฟริกาและอื่นๆตะไคร้ขึ้นในที่โล่งแจ้งดินร่วนทั่วๆไปในประเทศไทยปลูกเป็นพืชผักสวนครัวหรือการค้า5.องค์ประกอบทางเคมีน้ำมันหอมระเหยมีสีเหลืองปริมาณแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแหล่งปลูกอายุของพืชและส่วนของพืชที่นามาสกัดน้ามันระเหยจะพบมากที่สุดในส่วนของใบและมีปริมาณลดน้อยลงในส่วนที่แก่ของใบสารที่พบในน้ามันระเหยที่สาคัญได้แก่ซิตรอล (citral) มีประมาณมากที่สุดประมาณ 75 -85 เปอร์เซ็นต์หรืออาจพบมากถึง 90 -92 เปอร์เซ็นต์สารนี้เป็นอนุพันธ์ของเทอร์ปีน (terpene) นอกจากนี้ยังพบลินาลูล (linalool), เจอรานิออล (geraniol), ไมร์ซีน (myrcine) และเมธิลเฮปทีโน(methylheptenone) ซึ่งปริมาณของไมร์ซีซิตรอลจะแตกต่างไปอยู่กับแหล่งปลูกและอายุของพืชซิตรอลจะพบในปริมาณมากประมาณ 83 เปอร์เซ็นต์ในส่วนแก่ของใบและในส่วนอ่อนของใบประมาณ 77 -79 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นโดยทั่วไปจะมีซิตรอล 75 -80 เปอร์เซ็นต์แต่ตะไคร้จากกัวเตมาลามีซิตรอลมากถึง 80 -85 เปอร์เซ็นต์สาหรับไมร์ซีนจะพบในส่วนอ่อนมากกว่าในส่วนแก่ของใบนอกจากนี้ไมร์ซีนจากตะไคร้ที่ปลูกในไร่จะมีประมาณ 4.3 เปอร์เซ็นต์มากกว่าตะไคร้ที่ปลูกในเรือนเพาะชามีไมร์ซีน 2.4 เปอร์เซ็นต์5.1. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา5.2.น้ามันหอมระเหยมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อราซึ่งทาให้เกิดโรคพืชหลายชนิดในหลอดทดลอง5.3.น้ามันหอมรเหยและสารเคมีในน้ามันหอมระเหยคือcitral, citronellolและgeraniolมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย5.4เมื่อใช้กระดาษสาหรับห่ออาหารทาด้วยอิมัลชั่นของน้ามันตะไคร้พบว่าสามารถกันแมวและสุนัขได้ดีหลังจากที่ได้ทาไว้ 7 วัน5.5สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์ 75 เปอร์เซ็นต์จากทั้งต้นมีฤทธิ์ขับพยาธิไส้เดือนโดยทาให้เป็นอัมพาตภายใน 24 ชั่วโมงแต่พยาธิไม่ตาย5.6ใบและต้นแห้งมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของลาไส้ส่วนปลายของกระต่ายตัดแยกจากลาตัวตะไคร้สามารถนามาใช้ในการดับกลิ่นคาวของอาหารสารที่พบได้แก่citraleugenol, geraniol, linalool, camphor (รุ่งรัตน์เหลืองนทีเทพ, 2540) ซึ่งสามารถไล่แมลงยุงและไรเนื่องจากตะไคร้มีกลิ่นฉุนและยังมีฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียเชื้อราและยีสต์ได้
2. สมุนไพรปรับอากาศจากมะกรูด
มะกรูด:Ma krud (เป็นได้ทั้งพืชเครื่องเทศและสมุนไพร
ชื่อวิทยาศาสตร์
การแปล กรุณารอสักครู่..
