Your community’s historical background (When was it settled?)
ชุมชนที่ฉันอยู่นั้นอยู่ที่ ต.หลุมเข้า อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี ซึ่งจังหวัดของดิฉัน อยู่ในภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนบน ตำบลหลุมเข้าทิศเหนือ ติดต่อกับตำบล หมกแถว ตำบลน้ำซึม มีลำห้วยเป็นแนวกั้น ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอวัดสิงห์ จ.ชัยนาท มีลำห้วยขุนแก้วเป็นแนวกั้น ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลท่าซุง อำเภอเมือง มีคลองยางเป็นแนวกั้น และทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลดงขวาง สภาพภูมิประเทศ เป็นที่ราบมีลักษณะเป็นที่ราบดอน ทั้งตำบลหลุมเข้ามีหมู่บ้านทั้งหมด 7 หมู่บ้าน มีบ้านบึงทับแต้,บ้านดอนเชียงราย,บ้านหลุมเข้า,บ้านหนองกาหลง,บ้านเนินพยอม,บ้านเนินคล้อ,และบ้านปากดง ซึ่งดิฉันเองอยู่ในหมู่บ้านดอนเชียงราย จำนวนประชากรทั้งสิ้น 2,493 คน จำนวนครัวเรือน 594 ครัวเรือน ตำบลหลุมเข้านั้นมีประวัติความเป็นมาว่า เมื่อปลายปี พ.ศ.2110 ซึ่งตรงกับสมัยพระมหาธรรมราชาเป็นกษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยา พม่าที่จะไปสู้รบสงครามได้ยกทัพผ่านเข้ามาในเขตจังหวัดอุทัยธานี ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ตามช่องทางที่พม่ายกทัพผ่านจะทิ้งข้าวของ เครื่องใช้เพื่อหนีเอาชีวิตรอด และขุดหลุมฝังไว้ รวมทั้งข้าวเปลือก ข้าวสาร เพื่อจะกลับมาเอาหลังบ้านเมืองสงบ เนื่องจากมีการขุดหลุมฝังข้าวไว้มาก ชาวบ้านจึงเรียกบริเวณดังกล่าวว่า หลุมเข้า ซึ่งคำว่า เข้า ในยุคนั้นหมายถึงคำว่า ข้าวด้วย ในปัจจุบันวันที่ 26 มีนาคม 2552 มีการขุดที่ดินค้นพบกระดูกซี่โครงมนุษย์โบราณ ลูกปัดแก้ว ลูกปัดหิน ภาชนะดินเผา น่าจะเป็นสมัยโบราณทวารวดี เป็นจำนวนมากบริเวณริมถนนสายบ้านดงยางใต้ ต.หลุมเข้า นักโบราณคดีเชื่อว่าสถานที่นี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มพม่าและมีความเห็นว่าบ้านหลุมเข้ามีอายุมากกว่าสมัยประวัติศาสตร์เริ่มแรกหรือกว่า 1500 ปีมาแล้ว ซึ่งที่ดินที่ค้นพบของโบราณนั้นเป็นที่ดินของยายดิฉันเอง ดังนั้นจะเห็นได้ว่าชุมชนโบราณบ้านหลุมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่ใช้เหล็กแล้วกระจายอยู่ในพื้นที่บางส่วนของที่ราบภาคกลางของไทย ทำให้เห็นว่าประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้มีอาชีพเพาะปลูกและทำการเลี้ยงสัตว์ ในสมัยปัจจุบันชุมชนที่ดิฉันอาศัยอยู่เป็นชุมชนชนบทขนาดเล็กได้มีการพัฒนาทางด้านการศึกษาเนื่องจากมีโรงเรียนบ้านหลุมเข้ามิตรภาพที่117 ชาวบ้านจะส่งลูกหลานมาเรียนหนังสือในตำบลซึ่งทำให้ประชากรตระหนักถึงการเรียนซึ่งค่าใช้จ่ายจะน้อยกว่าการไปเรียนในเมือง มีวัดหลุมเข้าและวัดเนินพยอมเพื่อที่เป็นศูนย์รวมทางจิตใจในทางศาสนา ทุกวันพระคนในตำบลจะมาทำบุญใส่บาตรและฟังธรรม และทำกับข้าวพื้นจากผักที่ปลูกเองมาทำบุญ และมีอนามัยตำบล ดูแลสุขภาพประชาชนในตำบลให้มีสุขภาพที่ดี และให้การรักษาพยาบาล ซึ่งค่าใช้จ่ายมีราคาถูก คนในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ แทบทุกบ้านจะมีนาเป็นของตนเองและปลูกข้าวขาย การเกษตรจะอยู่ในรูปแบบช่วยเหลือเกื้อกูลกันมีการช่วยกันเก็บเกี่ยวข้าว หว่านปุ๋ย และไถนาเพื่อปรับสภาพดิน มีการทำไร่สับปะรด ไร่มัน และปลูกผักขายและอาชีพเสริมคือการทำตาล และเลี้ยงสัตว์ เนื่องจากการที่มีที่นาเยอะคนในชุมชนจะปลูกต้นตาลข้างนา ทำให้ลูกตาลมีจำนวนมากพอที่คนจะนำมาขายเป็นขนมหรือว่าลอนตาลสด ส่วนการเลี้ยงสัตว์จะเป็นสัตว์พวก วัว ควาย หมู และเป็ด เนื่องจากเป็นสถานที่ชนบทส่วนใหญ่มีแต่พื้นที่นา ป่าไม้ และที่โล่งกว้าง จะนิยมเลี้ยงสัตว์พวกวัว ควายนี้จำนวนมากไว้ขายและให้กินหญ้า ส่วนหมูนิยมเลี้ยงในบริเวณบ้าน และเป็ดจะใช้เลี้ยงในทุ่งนาที่ทำการเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ คนในชุมชนมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ และหาอาชีพเสริมทำ หากใครได้รับความเดือดร้อนจะช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีการปรึกษาและแก้ปัญหาภายในชุมชน ซึ่งจะมีผู้ดูแลคนในหมู่บ้านเป็นกำนัน จะดูแลสอดส่องลูกบ้านอย่างใกล้ชิด
Type of your community
ฉันอาศัยอยู่ในตำบลหลุมเข้า ซึ่งชุมชนที่ฉันอยู่จัดเป็นชุมชนในชนบท เนื่องจากตั้งอยู่ห่างไกลจากในเมืองแล้ว ยังไม่ค่อยได้รับการพัฒนาทางด้านวัตถุเท่าไหร่ เพราะการจะติดต่อทางธุรกิจ การเงิน การงาน และประกอบอาชีพ ยังมีความล้าหลังอยู่มาก สภาพแวดล้อม ในชนบทที่ฉันอาศัยมีความเป็นธรรมชาติส่วนใหญ่มีท้องนา ป่า และแม่น้ำ ลำคลอง สภาพอากาศที่อาศัยอากาศบริสุทธิ์ ไม่มีมลพิษ ลักษณะบ้านเรือนในชุมชนจะปลูกเป็นหลังเดี่ยวมีใต้ถุนสูง สาเหตุที่ใต้ถุนสูงเนื่องจากหมู่บ้านของฉันอยู่ใกล้แม่น้ำ ถึงหน้าฝนน้ำถึงท่วมจำนวนมากต้องยกใต้ถุนสูงส่วนด้านล่างจะเอาไว้เก็บพันธุ์พืช ซึ่งจะรับลมระบายและถ่ายเทความร้อนได้สะดวก การประกอบอาชีพ คนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ระบบการเกษตรส่วนใหญ่ยังเป็นแบบยังชีพ มีการเพาะปลูกข้าวเป็นจำนวนมาก ครอบครัวเดียวกันจะประกอบอาชีพอย่างเดียวกัน ครอบครัวดิฉันเองก็ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การทำเกษตรจะมีคนมาช่วยซึ่งเรียกว่าการลงแขก คือการที่คนอื่นสมัครใจมาช่วยหว่านปุ๋ย หว่านข้าว แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นการว่าจ้างมีและใช้เครื่องทุ่นแรงและเครื่องจักรมากขึ้นทำให้ชาวบ้านได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น การทำไร่ ปลูกไร่สับปะรด และปลูกไร่มันสำปะหลังขายถ้าเป็นการปลูกพืชจะเป็นการปลูกครั้งเดียวชนิดเดียวกัน ตามที่ดินที่ตนมีในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับพืชชนิดนั้น พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบซึ่งมีลักษณะเป็นที่ราบดอนซึ่งถ้าถึงคราวหน้าฝนจะทำให้น้ำท่วมพื้นที่เกษตรกรรมและบ้านเรือน ซึ่งจะได้รับความเสียหายจำนวนมาก ชาวบ้านจะทำการสร้างฝายน้ำเพื่อที่จะได้แจกจ่ายน้ำในการทำเกษตรกรรมอย่างทั่วถึงภายในชุมชน และอีกอาชีพคือการเลี้ยงสัตว์ ส่วนการจะประกอบอาชีพที่หลากหลายในชุมชนนั้นไม่ค่อยเกิดขึ้นเพราะสถานที่ไม่เอื้ออำนวย คนในชุมชนบางส่วนจะเข้าไปทำงานในเมือง เช่น กรรมกร พนักงานขาย สาเหตุบางส่วนเกิดจากไม่มีพื้นที่นา คนในครอบครัวจะหาเงินมาจุนเจือครอบครัวตลอดเวลา ในชุมชนถึงแม้จะมีพลเมืองมากแต่พื้นที่ก็มีมาก ทำให้ความหนาแน่นของประชากรน้อยไปด้วย โครงสร้างพื้นฐานเช่น สะพาน ถนน สิ่งก่อสร้างมีน้อย ในบางพื้นที่ยังเป็นถนนลูกรัง เป็นหลุม เป็นบ่อ ขรุขระ ไม่ค่อยสะดวก ยังไม่ได้รับการพัฒนา ในด้านสังคมครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญ เป็นทั้งหน่วยการผลิตและบริโภค สิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือนและอาหารจะผลิตขึ้นเอง
Your community’s historical background (When was it settled?)
ชุมชนที่ฉันอยู่นั้นอยู่ที่ ต.หลุมเข้า อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี ซึ่งจังหวัดของดิฉัน อยู่ในภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนบน ตำบลหลุมเข้าทิศเหนือ ติดต่อกับตำบล หมกแถว ตำบลน้ำซึม มีลำห้วยเป็นแนวกั้น ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอวัดสิงห์ จ.ชัยนาท มีลำห้วยขุนแก้วเป็นแนวกั้น ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลท่าซุง อำเภอเมือง มีคลองยางเป็นแนวกั้น และทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลดงขวาง สภาพภูมิประเทศ เป็นที่ราบมีลักษณะเป็นที่ราบดอน ทั้งตำบลหลุมเข้ามีหมู่บ้านทั้งหมด 7 หมู่บ้าน มีบ้านบึงทับแต้,บ้านดอนเชียงราย,บ้านหลุมเข้า,บ้านหนองกาหลง,บ้านเนินพยอม,บ้านเนินคล้อ,และบ้านปากดง ซึ่งดิฉันเองอยู่ในหมู่บ้านดอนเชียงราย จำนวนประชากรทั้งสิ้น 2,493 คน จำนวนครัวเรือน 594 ครัวเรือน ตำบลหลุมเข้านั้นมีประวัติความเป็นมาว่า เมื่อปลายปี พ.ศ.2110 ซึ่งตรงกับสมัยพระมหาธรรมราชาเป็นกษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยา พม่าที่จะไปสู้รบสงครามได้ยกทัพผ่านเข้ามาในเขตจังหวัดอุทัยธานี ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ตามช่องทางที่พม่ายกทัพผ่านจะทิ้งข้าวของ เครื่องใช้เพื่อหนีเอาชีวิตรอด และขุดหลุมฝังไว้ รวมทั้งข้าวเปลือก ข้าวสาร เพื่อจะกลับมาเอาหลังบ้านเมืองสงบ เนื่องจากมีการขุดหลุมฝังข้าวไว้มาก ชาวบ้านจึงเรียกบริเวณดังกล่าวว่า หลุมเข้า ซึ่งคำว่า เข้า ในยุคนั้นหมายถึงคำว่า ข้าวด้วย ในปัจจุบันวันที่ 26 มีนาคม 2552 มีการขุดที่ดินค้นพบกระดูกซี่โครงมนุษย์โบราณ ลูกปัดแก้ว ลูกปัดหิน ภาชนะดินเผา น่าจะเป็นสมัยโบราณทวารวดี เป็นจำนวนมากบริเวณริมถนนสายบ้านดงยางใต้ ต.หลุมเข้า นักโบราณคดีเชื่อว่าสถานที่นี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มพม่าและมีความเห็นว่าบ้านหลุมเข้ามีอายุมากกว่าสมัยประวัติศาสตร์เริ่มแรกหรือกว่า 1500 ปีมาแล้ว ซึ่งที่ดินที่ค้นพบของโบราณนั้นเป็นที่ดินของยายดิฉันเอง ดังนั้นจะเห็นได้ว่าชุมชนโบราณบ้านหลุมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่ใช้เหล็กแล้วกระจายอยู่ในพื้นที่บางส่วนของที่ราบภาคกลางของไทย ทำให้เห็นว่าประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้มีอาชีพเพาะปลูกและทำการเลี้ยงสัตว์ ในสมัยปัจจุบันชุมชนที่ดิฉันอาศัยอยู่เป็นชุมชนชนบทขนาดเล็กได้มีการพัฒนาทางด้านการศึกษาเนื่องจากมีโรงเรียนบ้านหลุมเข้ามิตรภาพที่117 ชาวบ้านจะส่งลูกหลานมาเรียนหนังสือในตำบลซึ่งทำให้ประชากรตระหนักถึงการเรียนซึ่งค่าใช้จ่ายจะน้อยกว่าการไปเรียนในเมือง มีวัดหลุมเข้าและวัดเนินพยอมเพื่อที่เป็นศูนย์รวมทางจิตใจในทางศาสนา ทุกวันพระคนในตำบลจะมาทำบุญใส่บาตรและฟังธรรม และทำกับข้าวพื้นจากผักที่ปลูกเองมาทำบุญ และมีอนามัยตำบล ดูแลสุขภาพประชาชนในตำบลให้มีสุขภาพที่ดี และให้การรักษาพยาบาล ซึ่งค่าใช้จ่ายมีราคาถูก คนในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ แทบทุกบ้านจะมีนาเป็นของตนเองและปลูกข้าวขาย การเกษตรจะอยู่ในรูปแบบช่วยเหลือเกื้อกูลกันมีการช่วยกันเก็บเกี่ยวข้าว หว่านปุ๋ย และไถนาเพื่อปรับสภาพดิน มีการทำไร่สับปะรด ไร่มัน และปลูกผักขายและอาชีพเสริมคือการทำตาล และเลี้ยงสัตว์ เนื่องจากการที่มีที่นาเยอะคนในชุมชนจะปลูกต้นตาลข้างนา ทำให้ลูกตาลมีจำนวนมากพอที่คนจะนำมาขายเป็นขนมหรือว่าลอนตาลสด ส่วนการเลี้ยงสัตว์จะเป็นสัตว์พวก วัว ควาย หมู และเป็ด เนื่องจากเป็นสถานที่ชนบทส่วนใหญ่มีแต่พื้นที่นา ป่าไม้ และที่โล่งกว้าง จะนิยมเลี้ยงสัตว์พวกวัว ควายนี้จำนวนมากไว้ขายและให้กินหญ้า ส่วนหมูนิยมเลี้ยงในบริเวณบ้าน และเป็ดจะใช้เลี้ยงในทุ่งนาที่ทำการเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ คนในชุมชนมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ และหาอาชีพเสริมทำ หากใครได้รับความเดือดร้อนจะช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีการปรึกษาและแก้ปัญหาภายในชุมชน ซึ่งจะมีผู้ดูแลคนในหมู่บ้านเป็นกำนัน จะดูแลสอดส่องลูกบ้านอย่างใกล้ชิด
Type of your community
ฉันอาศัยอยู่ในตำบลหลุมเข้า ซึ่งชุมชนที่ฉันอยู่จัดเป็นชุมชนในชนบท เนื่องจากตั้งอยู่ห่างไกลจากในเมืองแล้ว ยังไม่ค่อยได้รับการพัฒนาทางด้านวัตถุเท่าไหร่ เพราะการจะติดต่อทางธุรกิจ การเงิน การงาน และประกอบอาชีพ ยังมีความล้าหลังอยู่มาก สภาพแวดล้อม ในชนบทที่ฉันอาศัยมีความเป็นธรรมชาติส่วนใหญ่มีท้องนา ป่า และแม่น้ำ ลำคลอง สภาพอากาศที่อาศัยอากาศบริสุทธิ์ ไม่มีมลพิษ ลักษณะบ้านเรือนในชุมชนจะปลูกเป็นหลังเดี่ยวมีใต้ถุนสูง สาเหตุที่ใต้ถุนสูงเนื่องจากหมู่บ้านของฉันอยู่ใกล้แม่น้ำ ถึงหน้าฝนน้ำถึงท่วมจำนวนมากต้องยกใต้ถุนสูงส่วนด้านล่างจะเอาไว้เก็บพันธุ์พืช ซึ่งจะรับลมระบายและถ่ายเทความร้อนได้สะดวก การประกอบอาชีพ คนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ระบบการเกษตรส่วนใหญ่ยังเป็นแบบยังชีพ มีการเพาะปลูกข้าวเป็นจำนวนมาก ครอบครัวเดียวกันจะประกอบอาชีพอย่างเดียวกัน ครอบครัวดิฉันเองก็ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การทำเกษตรจะมีคนมาช่วยซึ่งเรียกว่าการลงแขก คือการที่คนอื่นสมัครใจมาช่วยหว่านปุ๋ย หว่านข้าว แต่ในสมัยปัจจุบันเป็นการว่าจ้างมีและใช้เครื่องทุ่นแรงและเครื่องจักรมากขึ้นทำให้ชาวบ้านได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น การทำไร่ ปลูกไร่สับปะรด และปลูกไร่มันสำปะหลังขายถ้าเป็นการปลูกพืชจะเป็นการปลูกครั้งเดียวชนิดเดียวกัน ตามที่ดินที่ตนมีในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับพืชชนิดนั้น พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบซึ่งมีลักษณะเป็นที่ราบดอนซึ่งถ้าถึงคราวหน้าฝนจะทำให้น้ำท่วมพื้นที่เกษตรกรรมและบ้านเรือน ซึ่งจะได้รับความเสียหายจำนวนมาก ชาวบ้านจะทำการสร้างฝายน้ำเพื่อที่จะได้แจกจ่ายน้ำในการทำเกษตรกรรมอย่างทั่วถึงภายในชุมชน และอีกอาชีพคือการเลี้ยงสัตว์ ส่วนการจะประกอบอาชีพที่หลากหลายในชุมชนนั้นไม่ค่อยเกิดขึ้นเพราะสถานที่ไม่เอื้ออำนวย คนในชุมชนบางส่วนจะเข้าไปทำงานในเมือง เช่น กรรมกร พนักงานขาย สาเหตุบางส่วนเกิดจากไม่มีพื้นที่นา คนในครอบครัวจะหาเงินมาจุนเจือครอบครัวตลอดเวลา ในชุมชนถึงแม้จะมีพลเมืองมากแต่พื้นที่ก็มีมาก ทำให้ความหนาแน่นของประชากรน้อยไปด้วย โครงสร้างพื้นฐานเช่น สะพาน ถนน สิ่งก่อสร้างมีน้อย ในบางพื้นที่ยังเป็นถนนลูกรัง เป็นหลุม เป็นบ่อ ขรุขระ ไม่ค่อยสะดวก ยังไม่ได้รับการพัฒนา ในด้านสังคมครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญ เป็นทั้งหน่วยการผลิตและบริโภค สิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือนและอาหารจะผลิตขึ้นเอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของชุมชน ( เมื่อมันลงตัว ? )
ชุมชนที่ฉันอยู่นั้นอยู่ที่ต . หลุมเข้า Admiral หนองขาหย่าง . . . .อุทัยธานีซึ่งจังหวัดของดิฉันอยู่ในภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบนตำบลหลุมเข้าทิศเหนือติดต่อกับตำบลหมกแถวตำบลน้ำซึมมีลำห้วยเป็นแนวกั้นทิศใต้ติดต่อกับอำเภอวัดสิงห์ . . . .ชัยนาทมีลำห้วยขุนแก้วเป็นแนวกั้นทิศตะวันออกติดต่อกับตำบลท่าซุงอำเภอเมืองมีคลองยางเป็นแนวกั้นและทิศตะวันออกติดต่อกับตำบลดงขวางสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบมีลักษณะเป็นที่ราบดอน7 มีบ้านบึงทับแต้หมู่บ้าน ,บ้านดอนเชียงรายบ้านหลุมเข้า , บ้านหนองกาหลงบ้านเนินพยอมบ้านเนินคล้อ , , , , ซึ่งดิฉันเองอยู่ในหมู่บ้านดอนเชียงรายและบ้านปากดงจำนวนประชากรทั้งสิ้น 2493 คนจำนวนครัวเรือน 594 ครัวเรือนตำบลหลุมเข้านั้นมีประวัติความเป็นมาว่าเมื่อปลายปีพ . ศ .2110 ซึ่งตรงกับสมัยพระมหาธรรมราชาเป็นกษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยาพม่าที่จะไปสู้รบสงครามได้ยกทัพผ่านเข้ามาในเขตจังหวัดอุทัยธานีชาวบ้านที่อาศัยอยู่ตามช่องทางที่พม่ายกทัพผ่านจะทิ้งข้าวของและขุดหลุมฝังไว้รวมทั้งข้าวเปลือกข้าวสารเพื่อจะกลับมาเอาหลังบ้านเมืองสงบเนื่องจากมีการขุดหลุมฝังข้าวไว้มากชาวบ้านจึงเรียกบริเวณดังกล่าวว่าหลุมเข้าซึ่งคำว่าเข้าในยุคนั้นหมายถึงคำว่าข้าวด้วย26 มีนาคม 2552 มีการขุดที่ดินค้นพบกระดูกซี่โครงมนุษย์โบราณลูกปัดแก้วลูกปัดหินภาชนะดินเผาน่าจะเป็นสมัยโบราณทวารวดีเป็นจำนวนมากบริเวณริมถนนสายบ้านดงยางใต้ต .หลุมเข้านักโบราณคดีเชื่อว่าสถานที่นี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มพม่าและมีความเห็นว่าบ้านหลุมเข้ามีอายุมากกว่าสมัยประวัติศาสตร์เริ่มแรกหรือกว่า 1500 ปีมาแล้วดังนั้นจะเห็นได้ว่าชุมชนโบราณบ้านหลุมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่ใช้เหล็กแล้วกระจายอยู่ในพื้นที่บางส่วนของที่ราบภาคกลางของไทยในสมัยปัจจุบันชุมชนที่ดิฉันอาศัยอยู่เป็นชุมชนชนบทขนาดเล็กได้มีการพัฒนาทางด้านการศึกษาเนื่องจากมีโรงเรียนบ้านหลุมเข้ามิตรภาพที่ 117มีวัดหลุมเข้าและวัดเนินพยอมเพื่อที่เป็นศูนย์รวมทางจิตใจในทางศาสนาทุกวันพระคนในตำบลจะมาทำบุญใส่บาตรและฟังธรรมและทำกับข้าวพื้นจากผักที่ปลูกเองมาทำบุญและมีอนามัยตำบลและให้การรักษาพยาบาลซึ่งค่าใช้จ่ายมีราคาถูกคนในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่แทบทุกบ้านจะมีนาเป็นของตนเองและปลูกข้าวขายการเกษตรจะอยู่ในรูปแบบช่วยเหลือเกื้อกูลกันมีการช่วยกันเก็บเกี่ยวข้าวและไถนาเพื่อปรับสภาพดินมีการทำไร่สับปะรดไร่มันและปลูกผักขายและอาชีพเสริมคือการทำตาลและเลี้ยงสัตว์เนื่องจากการที่มีที่นาเยอะคนในชุมชนจะปลูกต้นตาลข้างนาส่วนการเลี้ยงสัตว์จะเป็นสัตว์พวกวัวควายหมูและเป็ดเนื่องจากเป็นสถานที่ชนบทส่วนใหญ่มีแต่พื้นที่นาป่าไม้และที่โล่งกว้างจะนิยมเลี้ยงสัตว์พวกวัวควายนี้จำนวนมากไว้ขายและให้กินหญ้าและเป็ดจะใช้เลี้ยงในทุ่งนาที่ทำการเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จคนในชุมชนมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่ายปลูกผักเลี้ยงสัตว์และหาอาชีพเสริมทำหากใครได้รับความเดือดร้อนจะช่วยเหลือเกื้อกูลกันซึ่งจะมีผู้ดูแลคนในหมู่บ้านเป็นกำนันจะดูแลสอดส่องลูกบ้านอย่างใกล้ชิด
ประเภทของ
ชุมชนของคุณฉันอาศัยอยู่ในตำบลหลุมเข้าซึ่งชุมชนที่ฉันอยู่จัดเป็นชุมชนในชนบทเนื่องจากตั้งอยู่ห่างไกลจากในเมืองแล้วยังไม่ค่อยได้รับการพัฒนาทางด้านวัตถุเท่าไหร่เพราะการจะติดต่อทางธุรกิจการเงินการงานยังมีความล้าหลังอยู่มากสภาพแวดล้อมในชนบทที่ฉันอาศัยมีความเป็นธรรมชาติส่วนใหญ่มีท้องนาป่าและแม่น้ำลำคลองสภาพอากาศที่อาศัยอากาศบริสุทธิ์ไม่มีมลพิษสาเหตุที่ใต้ถุนสูงเนื่องจากหมู่บ้านของฉันอยู่ใกล้แม่น้ำถึงหน้าฝนน้ำถึงท่วมจำนวนมากต้องยกใต้ถุนสูงส่วนด้านล่างจะเอาไว้เก็บพันธุ์พืชซึ่งจะรับลมระบายและถ่ายเทความร้อนได้สะดวกการประกอบอาชีพ
การแปล กรุณารอสักครู่..