ชื่อ มะขามหวานเพชรบูรณ์ มะขามหวานเป็นพืชเอกลักษณ์และพืชเศรษฐกิจของจังห การแปล - ชื่อ มะขามหวานเพชรบูรณ์ มะขามหวานเป็นพืชเอกลักษณ์และพืชเศรษฐกิจของจังห อังกฤษ วิธีการพูด

ชื่อ มะขามหวานเพชรบูรณ์ มะขามหวานเป

ชื่อ
มะขามหวานเพชรบูรณ์

มะขามหวานเป็นพืชเอกลักษณ์และพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบูรณ์มาแต่ดั้งเดิมจนได้ชื่อว่า เมืองมะขามหวาน เมื่อเอ่ยถึงเมืองมะขามหวานประชาชนโดยทั่วไปก็เข้าใจเป็นอย่างเดียวกันว่าหมายถึง เมืองเพชรบูรณ์ มะขามหวานของจังหวัดมีหลายพันธุ์ เช่น พันธุ์หมื่นจง พันธุ์สีทอง (พันธุ์นายหยัด) พันธุ์ อินทผาลัม พันธุ์สีชมภู พันธุ์ปากดุก พันธุ์นายเบื้อง พันธุ์หลังแตก พันธุ์น้ำผึ้ง พันธุ์โป่งตูม พันธุ์ผู้ใหญ่มา เป็นต้น





พันธุ์หมื่นจง ปัจจุบันอยู่หมู่ที่ ๕ ตำบลหล่มเก่า (เยื้องวัดสระเกศ) อายุประมาณ ๑๕๐ ปี ปลูกโดย หมื่นจงประชากิจ (ฉิม พุทธสิมมา) ไม่มีหลักฐานว่าหมื่นจงประชากิจได้นำพันธุ์มาจากที่ใด ปัจจุบันโคนต้นโต ประมาณ ๓ คนจับมือกันจึงจะรอบต้น กิ่งก้านถูกตัดทิ้งมากเพราะปกคลุมหลังคาบ้าน และยังได้ผลอย่าง สม่ำเสมอ ลักษณะฝักโค้งเกือบครึ่งวงกลม มีความหวานจัด มีน้ำตาลร้อยละ ๔๒ และมีกรดทาทาริคร้อยละ ๑.๙๐

พันธุ์สีทอง (พันธุ์นายหยัด)เป็นพันธุ์ที่กลายมาจากพันธุ์หมื่นจง กล่าวคือ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๓ นายหยัด กองมูล ได้นำเมล็ดมะขามหวานพันธุ์หมื่นจงไปปลูกในที่ดินของตนประมาณ ๒๐ เมล็ด หลังจาก นั้นประมาณ ๗ ปี จึงมีผลปรากฎว่าเปรี้ยวที่สุด ๑๗ ต้น เปรี้ยวอมหวาน (มะยงชิด) ๑ ต้น หวานแต่ฝักเล็ก ๑ ต้น หวานจัดฝักใหญ่ที่สุด ๑ ต้น ต้นนี้คือ มะขามหวานต้นตระกูลพันธุ์สีทอง หรือพันธุ์นายหยัด ลักษณะใบ ใหญ่หนา ถ้าสมบูรณ์เต็มที่เกือบเท่าใบแค ยอดอ่อนออกใหม่ออกสีชมภู-แดง ฝักกลม ฝักใหญ่มากโค้งเล็ก น้อย โค้งเป็นครึ่งวงกลมบ้าง ลักษณะเนื้อค่อนข้างเหลืองเนื้อล่อนหนา รสหวานสนิท มีน้ำตาลร้อยละ ๔๒- ๔๔ จำนวนฝักต่อกิโลกรัม ๓๐-๓๕ ฝัก

พันธุ์อินทผาลัม เป็นมะขามพันธุ์เบา ฝักตรงโค้งนิด ๆ รสเปรี้ยวนิด ๆ ต้นเดิมอยู่ที่บ้านหนองเล ตำบล หินฮาว อำเภอหล่มเก่า ฝักจะสุกระหว่างเดือนธันวาคม-มกราคม

พันธุ์ประกายทอง มะขามหวานพันธุ์นี้แต่เดิมชื่อพันธุ์ตาแป๊ะ ปลูกครั้งแรกอำเภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ์ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์กลางออกดอกและติดฝักในเดือนพฤษภาคม ฝักยาวใหญ่โค้งงอไม่มีเหลี่ยม เมื่อฝักสุกเปลือกจะบางเป็นสีน้ำตาล เนื้อฉ่ำเป็นทรายหนามีสีน้ำผึ้ง เมล็ดเล็ก ฝักสุกในเดือนมกราคม

พันธุ์ศรีชมภู มะขามหวานพันธุ์นี้ นายอุดม ศรีชมภู ครูใหญ่โรงเรียนบ้านโคก ตำบลน้ำร้อน อยู่บ้าน เลขที่ ๙๗/๑ หมู่ ๒ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นผู้ตั้งชื่อมะขามพันธุ์นี้ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขาม หวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์เบา ฝักตรงกลมใหญ่แบนเหมือนท้องปลิงหรือฝักตรง เริ่มออกฝักในเดือนพฤษภาคม ฝัก สุกมีสีน้ำตาล เปลือกบางเนื้อหนาสีน้ำตาลอมเหลืองเมล็ดเล็กและล่อน รสชาติหวานกรอบ ฝักสุกในเดือน ธันวาคม

พันธุ์ปากดุก มะขามหวานพันธุ์นี้เดิมปลูกที่บ้านคลองปากดุก ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง อำเภอ หล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์กลาง ติดฝักในเดือนพฤษภาคม โค้งแบนเล็กน้อย หรือโค้งงอปานกลาง ฝักสุกมีสีน้ำตาล เนื้อหนาฉ่ำ ฝักสุกในเดือนธันวาคม

พันธุ์น้ำผึ้ง มะขามหวานพันธุ์นี้ นายวสันต์ เพชระบูรณิน อดีตเกษตรอำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชร บูรณ์เป็นผู้ตั้งชื่อลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์เบา ติดฝักในเดือนพฤษภาคม ฝักเล็กยาว โค้งงอมาก ฝักสุกจะมีเนื้อหนา รสชาติหอมหวานคล้ายน้ำผึ้งแต่ฝาด ฝักสุกในเดือนธันวาคม

พันธุ์ขันตี มะขามหวานพันธุ์นี้ตั้งชื่อผู้ที่นำมาปลูกคนแรก คือ นายขันตี แก้ววงศ์ อยู่บ้านเลขที่ ๒๐ หมู่ ๑๑ ตำบลท่าพล อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์

วิธีปลูก
นิยมปลูกกันด้วยการทาบกิ่ง หรือกิ่งตอน ไม่นิยมปลูกด้วยเมล็ด หากปลูกให้ถูกวิธีและดูแลรักษาดี จะ ให้ฝักภายใน ๓-๔ ปี

คุณค่า
ในมะขามมีสารอาหารที่ให้ประโยชน์คือ
- คาร์โบไฮเดรท (น้ำตาล) ร้อยละ ๔๒
- วิตามินซี
- เกลือแร่ แคลเซี่ยม
- สารให้รสเปรี้ยว คือ กรดทาทาริค

ประโยชน์
- มะขาม เป็นพืชที่ให้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ได้แก่
- ใบอ่อน นำไปประกอบอาหารปรุงรสเปรี้ยว
- ใบแก่ เป็นสมุนไพรนำไปต้มน้ำอาบทำให้ผิวหนังสะอาดสดชื่น
- ลำต้น กิ่ง นำไปทำเขียง เผาถ่าน
- ดอก นำไปประกอบอาหาร
- เนื้อ เป็นอาหาร, เครื่องดื่ม,ขัดผิวกาย,ขัดโลหะ
- เมล็ด บดเป็นแป้งนำไปประกอบอาหารได้
- รกหุ้มเนื้อมะขาม นำไปขัดโลหะให้เป็นเงางาม
- เนื้อมะขามเปรี้ยว นำไปปรุงรสอาหารได้รสเปรี้ยว

มะขามหวานเพชรบูรณ์เป็นพืชเศรษฐกิจ ที่สร้างรายได้ให้แก่ผู้ปลูกเป็นอย่างมาก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อ
มะขามหวานเพชรบูรณ์

มะขามหวานเป็นพืชเอกลักษณ์และพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบูรณ์มาแต่ดั้งเดิมจนได้ชื่อว่า เมืองมะขามหวาน เมื่อเอ่ยถึงเมืองมะขามหวานประชาชนโดยทั่วไปก็เข้าใจเป็นอย่างเดียวกันว่าหมายถึง เมืองเพชรบูรณ์ มะขามหวานของจังหวัดมีหลายพันธุ์ เช่น พันธุ์หมื่นจง พันธุ์สีทอง (พันธุ์นายหยัด) พันธุ์ อินทผาลัม พันธุ์สีชมภู พันธุ์ปากดุก พันธุ์นายเบื้อง พันธุ์หลังแตก พันธุ์น้ำผึ้ง พันธุ์โป่งตูม พันธุ์ผู้ใหญ่มา เป็นต้น





พันธุ์หมื่นจง ปัจจุบันอยู่หมู่ที่ ๕ ตำบลหล่มเก่า (เยื้องวัดสระเกศ) อายุประมาณ ๑๕๐ ปี ปลูกโดย หมื่นจงประชากิจ (ฉิม พุทธสิมมา) ไม่มีหลักฐานว่าหมื่นจงประชากิจได้นำพันธุ์มาจากที่ใด ปัจจุบันโคนต้นโต ประมาณ ๓ คนจับมือกันจึงจะรอบต้น กิ่งก้านถูกตัดทิ้งมากเพราะปกคลุมหลังคาบ้าน และยังได้ผลอย่าง สม่ำเสมอ ลักษณะฝักโค้งเกือบครึ่งวงกลม มีความหวานจัด มีน้ำตาลร้อยละ ๔๒ และมีกรดทาทาริคร้อยละ ๑.๙๐

พันธุ์สีทอง (พันธุ์นายหยัด)เป็นพันธุ์ที่กลายมาจากพันธุ์หมื่นจง กล่าวคือ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๓ นายหยัด กองมูล ได้นำเมล็ดมะขามหวานพันธุ์หมื่นจงไปปลูกในที่ดินของตนประมาณ ๒๐ เมล็ด หลังจาก นั้นประมาณ ๗ ปี จึงมีผลปรากฎว่าเปรี้ยวที่สุด ๑๗ ต้น เปรี้ยวอมหวาน (มะยงชิด) ๑ ต้น หวานแต่ฝักเล็ก ๑ ต้น หวานจัดฝักใหญ่ที่สุด ๑ ต้น ต้นนี้คือ มะขามหวานต้นตระกูลพันธุ์สีทอง หรือพันธุ์นายหยัด ลักษณะใบ ใหญ่หนา ถ้าสมบูรณ์เต็มที่เกือบเท่าใบแค ยอดอ่อนออกใหม่ออกสีชมภู-แดง ฝักกลม ฝักใหญ่มากโค้งเล็ก น้อย โค้งเป็นครึ่งวงกลมบ้าง ลักษณะเนื้อค่อนข้างเหลืองเนื้อล่อนหนา รสหวานสนิท มีน้ำตาลร้อยละ ๔๒- ๔๔ จำนวนฝักต่อกิโลกรัม ๓๐-๓๕ ฝัก

พันธุ์อินทผาลัม เป็นมะขามพันธุ์เบา ฝักตรงโค้งนิด ๆ รสเปรี้ยวนิด ๆ ต้นเดิมอยู่ที่บ้านหนองเล ตำบล หินฮาว อำเภอหล่มเก่า ฝักจะสุกระหว่างเดือนธันวาคม-มกราคม

พันธุ์ประกายทอง มะขามหวานพันธุ์นี้แต่เดิมชื่อพันธุ์ตาแป๊ะ ปลูกครั้งแรกอำเภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ์ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์กลางออกดอกและติดฝักในเดือนพฤษภาคม ฝักยาวใหญ่โค้งงอไม่มีเหลี่ยม เมื่อฝักสุกเปลือกจะบางเป็นสีน้ำตาล เนื้อฉ่ำเป็นทรายหนามีสีน้ำผึ้ง เมล็ดเล็ก ฝักสุกในเดือนมกราคม

พันธุ์ศรีชมภู มะขามหวานพันธุ์นี้ นายอุดม ศรีชมภู ครูใหญ่โรงเรียนบ้านโคก ตำบลน้ำร้อน อยู่บ้าน เลขที่ ๙๗/๑ หมู่ ๒ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นผู้ตั้งชื่อมะขามพันธุ์นี้ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขาม หวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์เบา ฝักตรงกลมใหญ่แบนเหมือนท้องปลิงหรือฝักตรง เริ่มออกฝักในเดือนพฤษภาคม ฝัก สุกมีสีน้ำตาล เปลือกบางเนื้อหนาสีน้ำตาลอมเหลืองเมล็ดเล็กและล่อน รสชาติหวานกรอบ ฝักสุกในเดือน ธันวาคม

พันธุ์ปากดุก มะขามหวานพันธุ์นี้เดิมปลูกที่บ้านคลองปากดุก ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง อำเภอ หล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์กลาง ติดฝักในเดือนพฤษภาคม โค้งแบนเล็กน้อย หรือโค้งงอปานกลาง ฝักสุกมีสีน้ำตาล เนื้อหนาฉ่ำ ฝักสุกในเดือนธันวาคม

พันธุ์น้ำผึ้ง มะขามหวานพันธุ์นี้ นายวสันต์ เพชระบูรณิน อดีตเกษตรอำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชร บูรณ์เป็นผู้ตั้งชื่อลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์เบา ติดฝักในเดือนพฤษภาคม ฝักเล็กยาว โค้งงอมาก ฝักสุกจะมีเนื้อหนา รสชาติหอมหวานคล้ายน้ำผึ้งแต่ฝาด ฝักสุกในเดือนธันวาคม

พันธุ์ขันตี มะขามหวานพันธุ์นี้ตั้งชื่อผู้ที่นำมาปลูกคนแรก คือ นายขันตี แก้ววงศ์ อยู่บ้านเลขที่ ๒๐ หมู่ ๑๑ ตำบลท่าพล อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์

วิธีปลูก
นิยมปลูกกันด้วยการทาบกิ่ง หรือกิ่งตอน ไม่นิยมปลูกด้วยเมล็ด หากปลูกให้ถูกวิธีและดูแลรักษาดี จะ ให้ฝักภายใน ๓-๔ ปี

คุณค่า
ในมะขามมีสารอาหารที่ให้ประโยชน์คือ
- คาร์โบไฮเดรท (น้ำตาล) ร้อยละ ๔๒
- วิตามินซี
- เกลือแร่ แคลเซี่ยม
- สารให้รสเปรี้ยว คือ กรดทาทาริค

ประโยชน์
- มะขาม เป็นพืชที่ให้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ได้แก่
- ใบอ่อน นำไปประกอบอาหารปรุงรสเปรี้ยว
- ใบแก่ เป็นสมุนไพรนำไปต้มน้ำอาบทำให้ผิวหนังสะอาดสดชื่น
- ลำต้น กิ่ง นำไปทำเขียง เผาถ่าน
- ดอก นำไปประกอบอาหาร
- เนื้อ เป็นอาหาร, เครื่องดื่ม,ขัดผิวกาย,ขัดโลหะ
- เมล็ด บดเป็นแป้งนำไปประกอบอาหารได้
- รกหุ้มเนื้อมะขาม นำไปขัดโลหะให้เป็นเงางาม
- เนื้อมะขามเปรี้ยว นำไปปรุงรสอาหารได้รสเปรี้ยว

มะขามหวานเพชรบูรณ์เป็นพืชเศรษฐกิจ ที่สร้างรายได้ให้แก่ผู้ปลูกเป็นอย่างมาก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อ
มะขามหวานเพชรบูรณ์

มะขามหวานเป็นพืชเอกลักษณ์และพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบูรณ์มาแต่ดั้งเดิมจนได้ชื่อว่า เมืองมะขามหวาน เมื่อเอ่ยถึงเมืองมะขามหวานประชาชนโดยทั่วไปก็เข้าใจเป็นอย่างเดียวกันว่าหมายถึง เมืองเพชรบูรณ์ มะขามหวานของจังหวัดมีหลายพันธุ์ เช่น พันธุ์หมื่นจง พันธุ์สีทอง (พันธุ์นายหยัด) พันธุ์ อินทผาลัม พันธุ์สีชมภู พันธุ์ปากดุก พันธุ์นายเบื้อง พันธุ์หลังแตก พันธุ์น้ำผึ้ง พันธุ์โป่งตูม พันธุ์ผู้ใหญ่มา เป็นต้น





พันธุ์หมื่นจง ปัจจุบันอยู่หมู่ที่ ๕ ตำบลหล่มเก่า (เยื้องวัดสระเกศ) อายุประมาณ ๑๕๐ ปี ปลูกโดย หมื่นจงประชากิจ (ฉิม พุทธสิมมา) ไม่มีหลักฐานว่าหมื่นจงประชากิจได้นำพันธุ์มาจากที่ใด ปัจจุบันโคนต้นโต ประมาณ ๓ คนจับมือกันจึงจะรอบต้น กิ่งก้านถูกตัดทิ้งมากเพราะปกคลุมหลังคาบ้าน และยังได้ผลอย่าง สม่ำเสมอ ลักษณะฝักโค้งเกือบครึ่งวงกลม มีความหวานจัด มีน้ำตาลร้อยละ ๔๒ และมีกรดทาทาริคร้อยละ ๑.๙๐

พันธุ์สีทอง (พันธุ์นายหยัด)เป็นพันธุ์ที่กลายมาจากพันธุ์หมื่นจง กล่าวคือ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๓ นายหยัด กองมูล ได้นำเมล็ดมะขามหวานพันธุ์หมื่นจงไปปลูกในที่ดินของตนประมาณ ๒๐ เมล็ด หลังจาก นั้นประมาณ ๗ ปี จึงมีผลปรากฎว่าเปรี้ยวที่สุด ๑๗ ต้น เปรี้ยวอมหวาน (มะยงชิด) ๑ ต้น หวานแต่ฝักเล็ก ๑ ต้น หวานจัดฝักใหญ่ที่สุด ๑ ต้น ต้นนี้คือ มะขามหวานต้นตระกูลพันธุ์สีทอง หรือพันธุ์นายหยัด ลักษณะใบ ใหญ่หนา ถ้าสมบูรณ์เต็มที่เกือบเท่าใบแค ยอดอ่อนออกใหม่ออกสีชมภู-แดง ฝักกลม ฝักใหญ่มากโค้งเล็ก น้อย โค้งเป็นครึ่งวงกลมบ้าง ลักษณะเนื้อค่อนข้างเหลืองเนื้อล่อนหนา รสหวานสนิท มีน้ำตาลร้อยละ ๔๒- ๔๔ จำนวนฝักต่อกิโลกรัม ๓๐-๓๕ ฝัก

พันธุ์อินทผาลัม เป็นมะขามพันธุ์เบา ฝักตรงโค้งนิด ๆ รสเปรี้ยวนิด ๆ ต้นเดิมอยู่ที่บ้านหนองเล ตำบล หินฮาว อำเภอหล่มเก่า ฝักจะสุกระหว่างเดือนธันวาคม-มกราคม

พันธุ์ประกายทอง มะขามหวานพันธุ์นี้แต่เดิมชื่อพันธุ์ตาแป๊ะ ปลูกครั้งแรกอำเภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ์ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์กลางออกดอกและติดฝักในเดือนพฤษภาคม ฝักยาวใหญ่โค้งงอไม่มีเหลี่ยม เมื่อฝักสุกเปลือกจะบางเป็นสีน้ำตาล เนื้อฉ่ำเป็นทรายหนามีสีน้ำผึ้ง เมล็ดเล็ก ฝักสุกในเดือนมกราคม

พันธุ์ศรีชมภู มะขามหวานพันธุ์นี้ นายอุดม ศรีชมภู ครูใหญ่โรงเรียนบ้านโคก ตำบลน้ำร้อน อยู่บ้าน เลขที่ ๙๗/๑ หมู่ ๒ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นผู้ตั้งชื่อมะขามพันธุ์นี้ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขาม หวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์เบา ฝักตรงกลมใหญ่แบนเหมือนท้องปลิงหรือฝักตรง เริ่มออกฝักในเดือนพฤษภาคม ฝัก สุกมีสีน้ำตาล เปลือกบางเนื้อหนาสีน้ำตาลอมเหลืองเมล็ดเล็กและล่อน รสชาติหวานกรอบ ฝักสุกในเดือน ธันวาคม

พันธุ์ปากดุก มะขามหวานพันธุ์นี้เดิมปลูกที่บ้านคลองปากดุก ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง อำเภอ หล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์กลาง ติดฝักในเดือนพฤษภาคม โค้งแบนเล็กน้อย หรือโค้งงอปานกลาง ฝักสุกมีสีน้ำตาล เนื้อหนาฉ่ำ ฝักสุกในเดือนธันวาคม

พันธุ์น้ำผึ้ง มะขามหวานพันธุ์นี้ นายวสันต์ เพชระบูรณิน อดีตเกษตรอำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชร บูรณ์เป็นผู้ตั้งชื่อลักษณะประจำพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้เป็นพันธุ์เบา ติดฝักในเดือนพฤษภาคม ฝักเล็กยาว โค้งงอมาก ฝักสุกจะมีเนื้อหนา รสชาติหอมหวานคล้ายน้ำผึ้งแต่ฝาด ฝักสุกในเดือนธันวาคม

พันธุ์ขันตี มะขามหวานพันธุ์นี้ตั้งชื่อผู้ที่นำมาปลูกคนแรก คือ นายขันตี แก้ววงศ์ อยู่บ้านเลขที่ ๒๐ หมู่ ๑๑ ตำบลท่าพล อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์

วิธีปลูก
นิยมปลูกกันด้วยการทาบกิ่ง หรือกิ่งตอน ไม่นิยมปลูกด้วยเมล็ด หากปลูกให้ถูกวิธีและดูแลรักษาดี จะ ให้ฝักภายใน ๓-๔ ปี

คุณค่า
ในมะขามมีสารอาหารที่ให้ประโยชน์คือ
- คาร์โบไฮเดรท (น้ำตาล) ร้อยละ ๔๒
- วิตามินซี
- เกลือแร่ แคลเซี่ยม
- สารให้รสเปรี้ยว คือ กรดทาทาริค

ประโยชน์
- มะขาม เป็นพืชที่ให้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ได้แก่
- ใบอ่อน นำไปประกอบอาหารปรุงรสเปรี้ยว
- ใบแก่ เป็นสมุนไพรนำไปต้มน้ำอาบทำให้ผิวหนังสะอาดสดชื่น
- ลำต้น กิ่ง นำไปทำเขียง เผาถ่าน
- ดอก นำไปประกอบอาหาร
- เนื้อ เป็นอาหาร, เครื่องดื่ม,ขัดผิวกาย,ขัดโลหะ
- เมล็ด บดเป็นแป้งนำไปประกอบอาหารได้
- รกหุ้มเนื้อมะขาม นำไปขัดโลหะให้เป็นเงางาม
- เนื้อมะขามเปรี้ยว นำไปปรุงรสอาหารได้รสเปรี้ยว

มะขามหวานเพชรบูรณ์เป็นพืชเศรษฐกิจ ที่สร้างรายได้ให้แก่ผู้ปลูกเป็นอย่างมาก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The name sweet tamarind in


.Sweet tamarind is a plant identity and crop of Phetchabun Province, but the traditional now called city sweet tamarind. When referring to the city of sweet tamarind people generally understand the same means the city collecting.As tens of thousands of varieties, varieties of gold (save) varieties you breed dates, breed color chomphu, breed breed catfish mouth you the breed after fracture. Varieties of honey, breed Pong boom, breeding adults, etc.!




.Tens of thousands of varieties, at present it is among the five District LOM Kao (opposite wat saket) aged about 1500 years grow by tens of thousands of people and activities (concluding, Buddhist, here). There is no evidence that tens of thousands of people and activities have brought varieties where present stem grew to about 3The branches cut off, because the covered roof and objective consistency. Pod characteristics curve nearly halve. There is sweet, sugar percentage. 4 2 and acid Tata Rick percentage, 1.

9 varieties and gold. You save) is a species (varieties developed from tens of thousands of varieties, is about.Good 8 3. You save division. The tamarind seed sweet varieties planted in ten thousand go their land for about 20 seeds. After that about 7 years, it has appeared that sour. Company plant, sweet and sour (มะยงชิด) 1. At the beginning, but small sweet pod 1 plant.One tree. This tree is sweet tamarind seed progenitor gold or varieties you savings. Leaf blade thick. If fully complete almost as much as the coriander leaves. The young shoots out a new color pink - red round pods pods, big bend small curve is a semicircle.Sweet taste of sugar per cent close 4 2 - order, number of pods per kilogram of - 3 5 sheath
.
(teeter, tamarind seed pods on the light curve a little sour little by little, the old home Nong Le District stone Howe LOM Kao pods are ripe between December and January

.Varieties of sparkling gold. Sweet tamarind seed originally named varieties, planting the first barbarian ranot District Phetchabun agronomic characters. Sweet tamarind this breed is a species in flowering and pod mounted in May.When the pod shell will be cooked some is brown. Juicy flesh is thick with sand watercolor bee beans pod ripe in January
.
.Varieties, Si chomphu, tamarind varieties, rich Si chomphu school principal elevation district. น้ำร hot, stay home. Number 9 7 / 1 MoO 2 District Phetchabun is named tamarind varieties, agronomic characters, tamarind.Sheath straight round flat like a ท้องปลิง or pods. Start out pods in May, pods, cooked with brown bark thick thin buff seed and peel, sweet taste crisp ripe pods in a month. December
.
.Mouth sweet tamarind seed breed catfish, this original home grown canal mouth DUK District Chong Pak Chong LOM sak District of Phetchabun province. Characteristics of varieties. Sweet tamarind seed is medium breed on POD in May, the curved flat slightly.Ripe pods are brown, thick, juicy pods ripening in December
.
.Varieties of honey, sweet tamarind seed. Mr. vasant Pesch ระบู ears. The former agricultural province, Nong Phai District Diamond Perfect is named agronomic characters. Sweet tamarind seed seed pod light stick this in May, small pods long bend.Taste sweet like honey but astringent, pod ripe in December
.
(port, tamarind varieties named those who bring growing first is you port glass family is at 20 among 11 District tha phon district.


. Planting RegionPlanted by graft or branches when not planted by seeds. If grown properly and look after treatment, will provide the pods within 3-4 years

value
. In tamarind nutrients to benefit is
- carbohydrate (sugar) (4 2
- Vitamin C
.- minerals calcium
- of sour acid is Tata Rick


- benefit tamarind is a plant that benefits all parts including
- leaves. The cooking flavor sour
- old leaves, herbs boil water bath makes the skin clean fresh
.- stem branches make a chopping board, the charcoal
- flower and cook
- meat, food, beverages, ขัดผิวก, polished metal
- grain grinding flour and cook
-. The placenta covers the tamarind pulp. The polishing of metal into a shiny
.- meat sour tamarind and seasoning food sour

. Phetchabun sweet tamarind as cash crops. The revenue to the grower greatly.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: