Slowing the water dam projects.apinyasafety27012523Slowing the water dam projects.Slowing the water Dept. to the ecosystem of girgaonจากทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยการใช้ทรัพยากรน้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการสร้างแนวป้องกันไฟเปียก (Wet Fire Break) หนึ่งในการวิธีการดังกล่าวคือการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้นหรือที่เรียกว่า Check Dam เพื่อปิดกั้นร่องน้ำหรือลำธารขนาดเล็กเป็นระยะๆ ให้เก็บกักน้ำและตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน้ำที่เก็บไว้จะซึมเข้าไปสะสมในดิน ทำให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยายเข้าไปทั้งสองฝั่งน้ำ กลายเป็นป่าเปียก(มูลนิธิชัยพัฒนา, ๒๕๕๕) สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.)(๒๕๕๐) กล่าวไว้ว่า ฝายชะลอน้ำ ฝายต้นน้ำลำธาร ฝายกั้นน้ำ ฝายแม้ว หรือฝายชะลอความชุ่มชื้น ต่างก็คือสิ่งเดียวกัน เรียกด้วยภาษาอังกฤษว่า Check Dam คือ สิ่งก่อสร้างขวางหรือกั้นทางเดินของลำน้ำ และจากการประชุม กปร.ครั้งที่ ๑/๒๕๔๗ ได้มีการแจ้งในที่ประชุมทราบถึงพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เกี่ยวกับการก่อสร้างฝายชะลอน้ำ ตามโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ว่าควรมีการขยายให้ครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่From such flows have both public and private sector agencies. Projects in thousands of check dams Weir The objective is to slow down the flow) to reduce the severity of the water flow and reducing erosion of the bluffs, 2) allows the water in the Creek is long, especially during the dry season 3) help trap sediments to minimize shallow water at the tip. Make the water clear and better 4) allows the soil moist. Wild abundance. Biodiversity, animals, water and wild animals live in the water, life, social night, scrapping the plant 5) Hill/mountain 6) moist soil, the bald, it becomes moist forests. reduce the severity of forest fires. จากวัตถุประสงค์ดังกล่าวมีงานการศึกษาวิจัยหลายชิ้นที่สนับสนุนข้อดีของการสร้างฝายชะลอน้ำ เช่น งานวิจัยที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยลึก อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ในช่วงฤดูแล้งฝายชะลอน้ำ สามารถลดอัตราการไหลของน้ำในลำธารได้มากกว่าร้อยละ ๙๐ ในขณะเดียวกันหากน้ำมีตะกอนแขวนลอยสูง ฝายชะลอน้ำสามารถลดปริมาณตะกอนได้มากกว่าร้อยละ ๘๐การไหลที่ช้าลงทำให้น้ำมีโอกาสพักตัวและแทรกซึมเข้าไปในดินสองฟากฝั่งมากขึ้น ทำให้ปริมาณน้ำในชั้นดินเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ ๔๐ (พงษ์ศักดิ์ วิทวัสชุติกุล และคณะ, ๒๕๕๒) และจากการศึกษาลุ่มน้ำเปรียบเทียบที่ อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง พบว่าการสร้างฝายชะลอน้ำจำนวน ๑๒๕ ฝายในลุ่มน้ำขนาดเล็กที่ที่มีพื้นที่ประมาณ ๑ ตารางกิโลเมตรและมีความลาดชันเฉลี่ยประมาณ ๓๕ เปอร์เซ็นต์ สามารถช่วยลดความรุนแรงในการไหลของน้ำได้มากกว่าร้อยละ ๕๔ (พงษ์ศักดิ์ วิทวัสชุติกุล และเพชร พลอยเจริญ, ๒๕๕๒) การสร้างฝายชะลอน้ำที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน ทำให้การเจริญเติบโตของต้นไม้ใน ป่าบริเวณสองฝั่งลำห้วยเพิ่มมากขึ้นทั้งในป่าเต็งรังและป่าดิบแล้ง (ประดิษฐ์ ตรีพัฒนาสุวรรณ และเพชร พลอยเจริญ, ๒๕๔๙) พบว่า นอกจากนี้ยังมีการวิจัยโดยอาศัยแบบจำลองพบว่าฝายชะลอน้ำที่ใช้งานมาแล้วและมีตะกอนตกอยู่เต็ม ยังคงสามารถทำหน้าที่ได้ดีอย่างต่อเนื่องโดยมีศักยภาพคิดเป็นร้อยละ ๔๐ ของฝายที่สร้างใหม่ (พงษ์ศักดิ์ วิทวัสชุติกุลและวารินทร์ จิระสุขทวีกุล, ๒๕๕๐)อย่างไรก็ตาม ในแง่ของปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางเคมี มีงานวิจัยที่แสดงข้อมูลอีกด้านหนึ่งของฝายชะลอน้ำ เช่น งานวิจัยที่รายงานว่า ระดับน้ำที่สูงขึ้นหลังจากการสร้างฝายชะลอน้ำซึ่งทำให้น้ำไหลช้าลง จะส่งผลต่างๆ ดังนี้ ๑) อุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นเนื่องจากน้ำที่ไหลช้าลงจะมีการหมุนเวียนมวลน้ำไปสัมผัสกับอากาศน้อยลงส่งผลให้การระเหยของน้ำลดลง มีการสะสมความร้อนที่ผิวน้ำมากขึ้น ๒) การหมุนเวียนน้ำไปสัมผัสกับอากาศที่น้อยลงยังทำให้ออกซิเจนที่ละลายในน้ำน้อยลงด้วย ๓) ตะกอนที่สะสมอยู่ท้ายฝายจะเปลี่ยนแปลงทำให้สภาพพื้นท้องน้ำเปลี่ยนไป คือ จากที่ควรจะเป็นกรวด หินและทราย ก็จะเปลี่ยนเป็นตะกอนดินและโคลนแทน ทำให้สังคมของสัตว์ที่อยู่ตามหน้าดินเปลี่ยนไป ส่งผลกระทบไปถึงห่วงโซ่อาหาร อีกทั้งน้ำขุ่นขึ้นส่งผลให้พืชน้ำสังเคราะห์แสงลดลง และตะกอนที่สะสมมากขึ้นเรื่อยๆ เกิดการย่อยสลายของแบคทีเรียมากขึ้น ทำให้มีค่าบีโอดี (Biological Oxygen Demand: BOD) สูงขึ้น และยังทำให้น้ำมีค่าความเป็นกรดมากขึ้นจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากกิจกรรมของแบคทีเรียที่มากขึ้น ๔) ระดับน้ำที่เพิ่มสูงขึ้นนั้นจะแผ่ออกจากลำน้ำเดิมซึ่งจะไปท่วมรากพืชที่อยู่ริมฝั่งน้ำทำให้รากขาดก๊าซออกซิเจนและเน่าตาย เมื่อตลิ่งขาดพืชที่จะเป็นตัวยึดก็จะทำให้เกิดการพังทลายได้ง่ายขึ้น 5) สังคมของพืชน้ำจะมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากกระแสน้ำไหลช้าลง โดยผลกระทบนั้นจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ของฝายชะลอน้ำ เช่น ความสูง ชนิด รูปร่าง เป็นต้น ดังนั้นก่อนการสร้างฝายจึงควรมีการศึกษาและวิจัยอย่างละเอียด (Kunpradid et al, ๒๕๔๗) ขณะเดียวกันกลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมได้ศึกษาถึงผลกระทบจากการสร้างฝายชะลอน้ำ ที่น้ำตกวชิรธารและลำห้วยทรายเหลือ ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าการสร้างฝายส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศลำธารอย่างรุนแรง ทำให้สัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในบริเวณดังกล่าวหายไปและส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศอื่นๆ เช่น พื้นที่อาศัยของแมลงน้ำลดลง ทำให้นกกินแมลงและปูที่เป็นอาหารของเต่าปูลูลดลง ซึ่งส่งผลให้จำนวนเต่าปูลูลดลงไปด้วย (นณณ์ ผาณิตวงศ์, ๒๕๕๓)Therefore, in order to check dams, best all parties and the negative impacts on the environment, both in the original ecosystem, and various creatures that reside in the area. Is very important to have a detailed study to be able to choose the type, or format, including how to build a Weir Weir at the appropriate areas and factors in both living organisms and physical factors are chocolate syrup.
การแปล กรุณารอสักครู่..