ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทยกับเวียดนาม1. ภาพรวมความสัมพันธ์ทั่วไป- ไ การแปล - ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทยกับเวียดนาม1. ภาพรวมความสัมพันธ์ทั่วไป- ไ อังกฤษ วิธีการพูด

ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทยกับเวี

ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทยกับเวียดนาม
1. ภาพรวมความสัมพันธ์ทั่วไป
- ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับเวียดนามเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2519 และเปิดสถานเอกอัครราชทูตที่กรุงฮานอย และสถานกงสุลใหญ่ที่นครโฮจิมินห์ เมื่อปี 2521 และ 2535 ตามลำดับ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงฮานอยประกอบด้วยสำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารและสำนักงานส่งเสริมการค้า ไทยในต่างประเทศ ส่วนสถานกงสุลใหญ่ที่นครโฮจิมินห์ประกอบด้วยฝ่ายการพาณิชย์ และสำนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
- ความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างไทย - เวียดนามในปัจจุบันอยู่ในระดับที่ดีมากไม่มีปัญหาสำคัญค้างคา มีการแลกเปลี่ยนการเยือนในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง มีการไปมาหาสู่ระหว่างกันเพิ่มขึ้น รวมถึงในระดับท้องถิ่นจากการที่มีเส้นทางเชื่อมโยงถึงกันค่อนข้างสะดวก
- เมื่อพิจารณาจากปัจจัยด้านภูมิรัฐศาสตร์ สถานะทางการเมือง ขนาดของประเทศ ขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของเวียดนาม เจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์ที่มั่นคงและความเข้าใจอันดีกับไทยเพื่อ เสริมสร้างเสถียรภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล้ว การพัฒนาความสัมพันธ์และความร่วมมือไทย - เวียดนามตลอดระยะที่ผ่านมาจึงมีลักษณะของการพัฒนา ความร่วมมือบนผลประโยชน์ร่วมกันในเชิง "หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์
2. ความสัมพันธ์ด้านการเมืองและความมั่นคง
- ไทยและเวียดนามมีการวางกรอบความร่วมมือทวิภาคีหลายด้านในระดับต่าง ๆ เช่น ในระดับสูงสุดมีกรอบการประชุมคณะรัฐมนตรีร่วมไทย-เวียดนามอย่างไม่เป็นทาง การ (Joint Cabinet Retreat: JCR) ระดับรองลงมามีกลไกการหารือร่วม (Joint Consultative Mechanism: JCM) ซึ่งเป็นกลไกการหารือระดับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทำหน้าที่ดูแลกรอบความสัมพันธ์และประสานความร่วมมือในภาพรวม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Bilateral relationship between Thai and Viet Nam1. an overview of general relations.-Thai diplomatic relations established with the Viet Nam when August 6, 1976, and opened the Embassy in Hanoi and the Consulate General in Ho Chi Minh City. When the year 2521 (1978) and 2535 (1992) respectively. Royal Thai Embassy, Hanoi is comprised of Office of Assistant military attache, and trade promotion offices. Foreign Thai Section Consulate General Ho Chi Minh City, which contains the commercial Department and the Office of the Thai tourism authority.-The relationship and cooperation between the Thai-Viet Nam nowadays is in a very good level, there are no major outstanding issues. There is an exchange of visits at all levels continuously. Have to come to the increase, including the local level from where a path linking to each other is quite convenient.-Considering the State of the climate factor The country's size, political status. Viet Nam's economic capability Aims to promote stable relationships and a better understanding with Thai to strengthen the stability of Southeast Asia. To develop relationships and collaborations throughout Viet Nam-Thai in the past, it is the nature of the development. Cooperation on common interests in strategic partnership, "he said.2. the relationship of politics and security.-Thai and Viet Nam have bilateral multifaceted cooperation in assisting the Board in various levels, such as at the highest level with joint Cabinet meeting to frame Thai-Viet Nam's. (The Joint Cabinet Retreat: JCR) secondary level have a joint consultation mechanism (Joint Consultative Mechanism: JCM), which is the level of consultation mechanisms, the Minister of Foreign Affairs. Acting dulaekrop relationship and cooperating in the overview.<-Issues of security cooperation between the Thai and Viet Nam under the supervision of the Board of works on political cooperation and stability (Joint Working Group on Political and Security Cooperation: the JWG on PSC) which has a General Secretary of the National Security Council is President of Thai. At present, Thai and Viet Nam recognizes the need to work together closely to cope with the new challenges that the rise in multiple regions with a plan for cooperation and political stability, "the Plan of Joint Action Thailand-Vietnam on Political and Security Cooperation (2008-2010)" Framework for cooperation-For military There is a memorandum of understanding on joint patrol between the Thai Navy-Navy Viet Nam as well as the meeting of the joint Thai-Viet Nam relating to the marine organized on a regular basis.3. economic relations3.1 trade.Thai is a partner in Viet Nam's rank 2552 (2009) 9 global economic crisis resulted in Viet Nam-Thai trade value decreased slightly at 5900 million US dollars by the Thai's balance of trade advantage for about 3000 million USD (year total trade value 2551 (2008) 6, 463.98 million u.s. dollar trade surplus was 3 Thai, 310.15 million US dollars), the best Viet Nam as a partner in the ranks of 13 Thai (by the partner ranks 4 in Singapore and Malaysia from Indonesia, ASEAN) The main Thai exports to Viet Nam, i.e. the finished oil. Plastic beads, iron and steel products, automobile accessories and components, chemicals. Rubber products The internal combustion engine Pistons, paper and paper products. Motorcycles and components. Machinery and components, plastic cement product. The main item that Thai imports from Viet Nam, including computers. Equipment and components of crude oil. Electrical machinery and components, yarn and fiber Machine tools used by medical science. Frozen seafood, frozen, chemicals, coffee, tea and spices.3.2 investment.In the year 2552 (2009) Thai investment in Viet Nam's high rating 10 from all foreign investors. There are various projects including 216 projects are worth a total investment of 5 million u.s. dollars to 749.52, the largest source in Viet Nam Thai private investment is the Ho Chi Minh City and province, neighboring province of Duong, Chennai (Dong Nai) binsueang Prefecture (Binh Duong) in critical areas such as hotels, tourism, construction, infrastructure. Development of industrial chemicals. The agricultural industry. Pet food industry, plastics, motorcycle partsBy 67 per cent of Thai investment in Viet Nam Thai workers as shareholders in the company are one hundred percent and Thai Charoen Pokphand group has significant investments in food animals. A cement Thai investment in the chemical industry. Paper and construction materials and industrial zone development investment group of immortals, etc.3.3 tourismThe two countries have an agreement on tourism cooperation, signed on March 16, 1994, and the agreement with the exception of requirments for passport holders. Plain, which signed on May 9, 2000 by year-end statistics 2551 (2008) tourists have come to Viet Nam Thai nationality 3.3 thousands. While Thai travelers to Viet Nam has approximately 1.8 per cent of men and 50% of this amount (both sides) to land travel through route No. 9.4. academic and cultural relations.-Thai and Viet Nam signed the cultural agreement last year when 2539 (1996) considered a good relationship. The level of development that is not very far away, and trust each other and thus can be considered Viet Nam is ready to cooperate with the Thai culture in addition to quite a lot. Nationals of Viet Nam Thai descent can also be an important power. In order to push forward the cooperation with one another.-Thai, Viet Nam's technical assistance since the year 2535 (1992) (1982) through technical cooperation meeting of Thai-Viet Nam. Under the supervision of the Office of cooperation for development between the countries (saphon.) At present, there is an exchange of teaching Thai language teaching languages in universities, 5 of Viet Nam (Hanoi, Ho Chi Minh City and Da Nang City) and the Institute of Thai language teaching opened many Viet Nam.-Viet Nam is also interested in the development of Thai friendship village. -Viet Nam House, Amphoe mueang, Tambon Nong Chok kin na Nakhon phanom province, which is the place where former President Ho Chi Minh were during the salvage of independence so that they origin.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทยกับเวียดนาม
1. ภาพรวมความสัมพันธ์ทั่วไป
- ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับเวียดนามเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2519 และเปิดสถานเอกอัครราชทูตที่กรุงฮานอย และสถานกงสุลใหญ่ที่นครโฮจิมินห์ เมื่อปี 2521 และ 2535 ตามลำดับ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงฮานอยประกอบด้วยสำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารและสำนักงานส่งเสริมการค้า ไทยในต่างประเทศ ส่วนสถานกงสุลใหญ่ที่นครโฮจิมินห์ประกอบด้วยฝ่ายการพาณิชย์ และสำนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
- ความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างไทย - เวียดนามในปัจจุบันอยู่ในระดับที่ดีมากไม่มีปัญหาสำคัญค้างคา มีการแลกเปลี่ยนการเยือนในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง มีการไปมาหาสู่ระหว่างกันเพิ่มขึ้น รวมถึงในระดับท้องถิ่นจากการที่มีเส้นทางเชื่อมโยงถึงกันค่อนข้างสะดวก
- เมื่อพิจารณาจากปัจจัยด้านภูมิรัฐศาสตร์ สถานะทางการเมือง ขนาดของประเทศ ขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของเวียดนาม เจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์ที่มั่นคงและความเข้าใจอันดีกับไทยเพื่อ เสริมสร้างเสถียรภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล้ว การพัฒนาความสัมพันธ์และความร่วมมือไทย - เวียดนามตลอดระยะที่ผ่านมาจึงมีลักษณะของการพัฒนา ความร่วมมือบนผลประโยชน์ร่วมกันในเชิง "หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์
2. ความสัมพันธ์ด้านการเมืองและความมั่นคง
- ไทยและเวียดนามมีการวางกรอบความร่วมมือทวิภาคีหลายด้านในระดับต่าง ๆ เช่น ในระดับสูงสุดมีกรอบการประชุมคณะรัฐมนตรีร่วมไทย-เวียดนามอย่างไม่เป็นทาง การ (Joint Cabinet Retreat: JCR) ระดับรองลงมามีกลไกการหารือร่วม (Joint Consultative Mechanism: JCM) ซึ่งเป็นกลไกการหารือระดับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทำหน้าที่ดูแลกรอบความสัมพันธ์และประสานความร่วมมือในภาพรวม
<- ประเด็นด้านความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างไทยและเวียดนามอยู่ภายใต้การ กำกับดูแลของคณะทำงานร่วมว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง (Joint Working Group on Political and Security Cooperation: JWG on PSC) ซึ่งมีเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นประธานฝ่ายไทย ปัจจุบัน ไทยและเวียดนามตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดเพื่อ รับมือกับสิ่งท้าทายใหม่ ๆ ที่เพิ่มขึ้นในอนุภูมิภาค โดยมีแผนงานความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง “Thailand-Vietnam Joint Plan of Action on Political and Security Cooperation (2008-2010)” กำหนดกรอบความร่วมมือ
- สำหรับด้านการทหาร มีบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการลาดตระเวนร่วมระหว่างกองทัพเรือไทย-กองทัพเรือ เวียดนาม รวมทั้งมีการประชุมคณะทำงานร่วมไทย-เวียดนามว่าด้วยการจัดระเบียบทางทะเล อย่างสม่ำเสมอ
3. ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ
3.1 การค้า
ไทย เป็นคู่ค้าอันดับที่ 9 ของเวียดนาม ในปี 2552 วิกฤตเศรษฐกิจโลกส่งผลให้มูลค่าการค้าไทย-เวียดนามลดลงเล็กน้อยอยู่ที่ 5,900 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบดุลการค้าประมาณ 3,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2551 มูลค่าการค้ารวม 6,463.98 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยได้เปรียบดุลการค้า 3,310.15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ส่วนเวียดนามเป็นคู่ค้าอันดับที่ 13 ของไทย(โดย เป็นคู่ค้าอันดับที่ 4 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย) สินค้าหลักที่ไทยส่งออกไปเวียดนาม ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป เม็ดพลาสติก เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูบ กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์พลาสติก ปูนซิเมนต์ ส่วนสินค้าหลักที่ไทยนำเข้าจากเวียดนาม ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น้ำมันดิบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ด้ายและเส้นใย เครื่องมือเครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ อาหารทะเลแช่เย็น แช่แข็ง เคมีภัณฑ์ กาแฟ ชา และเครื่องเทศ
3.2 การลงทุน
ใน ปี 2552 ไทยลงทุนในเวียดนามสูงเป็นอันดับที่ 10 จากนักลงทุนต่างชาติทั้งหมด มีโครงการต่าง ๆ รวม 216 โครงการ คิดเป็นมูลค่าการลงทุนรวม 5,749.52 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แหล่งใหญ่ที่สุดในเวียดนามที่เอกชนไทยไปลงทุน คือ นครโฮจิมินห์และจังหวัดข้างเคียง เช่น จังหวัดด่องไน (Dong Nai) จังหวัดบิ่นห์เซือง (Binh Duong) ในสาขาสำคัญ ได้แก่ การท่องเที่ยว โรงแรม การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนานิคมอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์ อุตสาหกรรมการเกษตร อาหารสัตว์ อุตสาหกรรมพลาสติก ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์
โดย ร้อยละ 67 ของการลงทุนของไทยในเวียดนามมีคนไทยเป็นผู้ถือหุ้นร้อยเปอร์เซ็นต์ และมีบริษัทไทยที่สำคัญ ได้แก่ เครือเจริญโภคภัณฑ์ลงทุนด้านอาหารสัตว์ เครือซีเมนต์ไทยลงทุนในอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ กระดาษ และวัสดุก่อสร้าง และกลุ่มอมตะลงทุนพัฒนาเขตอุตสาหกรรม เป็นต้น
3.3 การท่องเที่ยว
ทั้ง สองประเทศมีความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2537 และมีความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสำหรับผู้ถือหนังสือเดินทาง ธรรมดา ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2543 โดยสถิติเมื่อสิ้นปี 2551 นักท่องเที่ยวสัญชาติเวียดนามได้มาไทย 3.3 แสนคน ขณะที่นักท่องเที่ยวไทยไปเวียดนามมีจำนวน 1.8 แสนคน ทั้งนี้ ประมาณร้อยละ 50 ของจำนวนนี้ (ทั้งสองฝ่าย) เดินทางทางบกผ่านเส้นทางหมายเลข 9
4. ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและวิชาการ
- ไทยและเวียดนามลงนามในความตกลงด้านวัฒนธรรมเมื่อปี 2539 และเมื่อพิจารณาถึงสถานะความสัมพันธ์ที่ดี ระดับการพัฒนาที่ไม่ห่างกันมาก และความไว้เนื้อเชื่อใจกัน จึงถือได้ว่าเวียดนามมีความพร้อมที่จะร่วมมือกับไทยในด้านวัฒนธรรมค่อนข้าง มาก นอกจากนั้น ชาวไทยเชื้อสายเวียดนามยังสามารถเป็นพลังสำคัญ ในการผลักดันความร่วมมือด้านนี้ด้วยอีกทางหนึ่ง
- ไทยให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่เวียดนามตั้งแต่ปี 2535 (ค.ศ. 1982) ผ่านกรอบการประชุมความร่วมมือทางวิชาการไทย-เวียดนาม ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (สพร.) ปัจจุบัน มีการแลกเปลี่ยนการสอนภาษาโดยมีการสอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัย 5 แห่งของเวียดนาม (ที่กรุงฮานอย นครโฮจิมินห์ และนครดานัง) และสถาบันการศึกษาของไทยหลายแห่งก็เปิดการสอนภาษาเวียดนาม
- เวียดนามยังให้ความสนใจในการพัฒนาหมู่บ้านมิตรภาพไทย - เวียดนาม ที่บ้านนาจอก ตำบล หนองญาติ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นสถานที่ที่อดีตประธานาธิบดีโฮจิมินห์เคยพำนักในช่วงกอบกู้เอกราช เพื่อให้เป็นแหล่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Bilateral relations between Thailand and Vietnam, 1
. Overview of general relationship
.The establishment of diplomatic relations with Vietnam on 6 August 4th 2519 and turn to who Hanoi. And consulates at Ho Chi Minh City last year and 2521 2535 respectively. The Embassy ofEnglish in foreign countries. The Consulate-General of the Ho Chi Minh City consists of the commerce. Office of tourism and
.- the relationship and cooperation between the countries is currently located in a very good position ไม่มีปัญหาสำคัญ ends. The exchange of visits at all levels continuously. There are fields between increased.When considering the factors of geopolitics. The political situation, the size of the country, the economic capacity of Vietnam. The intention to promote stable relationships and understanding the good and Thai.The development of relations and cooperation between Thailand and Vietnam during the past, so have the characteristics of development. On the mutual benefit cooperation in strategic partnership! "2. The relationship between the political and security
-. Thailand and Vietnam have framed the bilateral cooperation many aspects of various levels such as high there frame joint cabinet meetings as Thailand and Vietnam. (Joint Cabinet Retreat:JCR) level followed mechanism discussed joint (Joint Consultative Mechanism: JCM), which is a mechanism to discuss the Minister of foreign affairs. Take care of the frame relations and cooperation in the overall
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: