การไหลเข้าออกของเม็ดเงินต่างชาติ และผลต่อการลงทุนในตลาดตราสารหนี้ไทยโด การแปล - การไหลเข้าออกของเม็ดเงินต่างชาติ และผลต่อการลงทุนในตลาดตราสารหนี้ไทยโด อังกฤษ วิธีการพูด

การไหลเข้าออกของเม็ดเงินต่างชาติ แล

การไหลเข้าออกของเม็ดเงินต่างชาติ และผลต่อการลงทุนในตลาดตราสารหนี้ไทย

โดยพอพิศ ยอดแสง, ฝ่ายวิจัยและพัฒนา

นับตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา ประเทศไทยต้องเผชิญกับภาวะการไหลเข้า-ออกของเม็ดเงินต่างชาติที่ค่อนข้างผันผวน จากที่เคยไหลเข้า (Inflow) ในปริมาณมากช่วงต้นปี จนกระทั่งมีการไหลออก (Outflow) อย่างต่อเนื่องในช่วง 4 – 5 เดือนก่อนหน้า และเริ่มไหลกลับเข้ามาอีกครั้งในช่วง 1 – 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา การเปลี่ยนทิศทางของกระแสเงินทุนต่างชาติ ส่งผลให้ราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ และราคาตราสารหนี้ปรับตัวขึ้น-ลง ตามไปด้วยอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะในช่วงเดือน พ.ค. – ส.ค. (4 เดือน) มีเม็ดเงินต่างชาติไหลออกไปจากตลาดตราสารหนี้ไทยรวมกันกว่า 170,000 ล้านบาท โดยในจำนวนนี้แบ่งเป็น Outflow ที่เกิดจากแรงขายในตราสารหนี้ระยะสั้น (อายุคงเหลือน้อยกว่า 1 ปี) 20,000 ล้านบาท Outflow ที่เกิดจากแรงขายในตราสารหนี้ระยะยาว (อายุคงเหลือมากกว่า 1 ปี) 40,000 ล้านบาท และที่เหลืออีกประมาณ 110,000 ล้านบาทเกิดจากการหมดอายุของตราสารหนี้ที่นักลงทุนต่างชาติเคยถือครองเอาไว้ ซึ่งตัวเลขที่เกิดขึ้นทำให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่า การไหลออกของเม็ดเงินในช่วงที่ผ่านมาเป็นการไหลออกไปจากตราสารหนี้อายุสั้นๆเป็นหลัก (110,000 + 20,000 = 130,000 ล้านบาท) ขณะที่ Outflow จากตราสารหนี้ระยะยาวที่ถึงแม้จะมีปริมาณค่อนข้างสูง แต่ยังอยู่ในระดับที่ไม่น่าเป็นกังวลมากนัก เมื่อเทียบกับยอดการถือครอง (Holding) ตราสารหนี้ระยะยาวทั้งหมดของนักลงทุนต่างชาติที่มีอยู่รวมกันกว่า 590,000 ล้านบาท ในช่วงเวลานั้น

อย่างไรก็ตาม Outflow ที่เกิดขึ้น มีผลทำให้ราคาตราสารหนี้ปรับตัวลดลงในทุกๆ ช่วงอายุ หรือในอีกมุมหนึ่งอาจกล่าวได้ว่าผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้ (Yield) ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดย Yield ของพันธบัตรอายุ 5 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากระดับ 3.0% ในช่วงเดือน พ.ค. มาอยู่ที่ 3.7% ขณะที่ Yield ของพันธบัตรอายุ 10 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากระดับ 3.5% มาอยู่ที่ 4.3% ณ สิ้นเดือน ส.ค. ขณะที่เงินบาทอ่อนค่าลงประมาณ 5.4% จาก 30.41 บาท/USD ในเดือน พ.ค. ไปอยู่ที่ 32.06 บาท/USD ณ สิ้นเดือน ส.ค.

ทั้งนี้ ปัจจัยที่ทำให้เม็ดเงินต่างชาติไหลออกจากประเทศไทยในช่วง 4 – 5 เดือนที่ผ่านมา อาจแบ่งได้เป็น 2 ส่วนด้วยกัน เริ่มจาก ความกังวลว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) อาจลดขนาดของมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) หลังเศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นตามลำดับ ทั้งตัวเลขผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานที่ลดลงจนแตะระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี ขณะที่ GDP ไตรมาส 2/56 ของสหรัฐฯ ที่ขยายตัวกว่า 2.5% เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ทำให้หลายฝ่ายคาดการณ์ว่า Fed น่าจะเริ่มทำการลดขนาดของมาตรการ QE ในช่วงปลายปี 2556 โดยเฉพาะในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (FOMC) ที่จะมีขึ้นในเดือน ก.ย. ที่ตลาดคาดว่าจะมีความชัดเจนเกี่ยวกับการลดขนาด QE มากขึ้น ขณะที่อีกปัจจัยที่ส่งผลให้เกิด Outflow ของเม็ดเงินต่างชาติ คือแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งหลังของปี 2556 ที่ปรับตัวแย่ลงในเกือบทุกด้าน โดยตัวเลขการส่งออกที่ยังคงหดตัวต่อเนื่องตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจในประเทศอุตสาหกรรมหลักโดยเฉพาะประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดส่งออกที่สำคัญของไทย ส่งผลให้ GDP ของไทยในไตรมาส 2/2556 ขยายตัวได้เพียง 2.8% ซึ่งชะลอลงจาก 5.4% ในไตรมาสก่อนหน้า มุมมองทางเศรษฐกิจที่แย่ลงมีส่วนทำให้เกิด Outflow ของเม็ดเงินต่างชาติตามไปด้วย

อย่างไรก็ตาม ภายหลังการประชุม FOMC ในช่วงกลางเดือน ก.ย. ที่ผ่านมา ที่มีมติไม่ลดขนาดของมาตรการ QE ตามที่หลายฝ่ายเคยคาดการณ์เอาไว้ ส่งผลให้เม็ดเงินต่างชาติที่เคยไหลออกไปในช่วงก่อนหน้า ไหลกลับเข้าสู่ประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง โดยในช่วงระหว่างวันที่ 16 – 20 ก.ย. ต่างชาติกลับเข้ามาซื้อสุทธิในตลาดตราสารหนี้ไทยกว่า 66,000 ล้านบาท โดยในจำนวนนี้เป็นการกลับเข้ามาซื้อสุทธิในตราสารระยะสั้น 48,000 ล้านบาท และซื้อสุทธิในตราสารระยะยาว 18,000 ล้านบาท อย่างไรก็ตามแรงซื้อที่เกิดขึ้นในช่วง 5 วันที่ผ่านมา ส่วนใหญ่แล้วกระจุกตัวในตราสารหนี้ระยะสั้นซึ่งจะทยอยหมดอายุไปในอีกไม่กี่วันข้างหน้า จึงคาดว่าเราอาจจะเห็นยอดซื้อสุทธิต่อเนื่องไปอีกซักระยะเวลาหนึ่ง โดยเป็นการซื้อเพื่อทดแทนตราสารหนี้ตัวเดิมที่หมดอายุลงไปเป็นหลัก


แต่สิ่งที่น่าสนใจก็คือ แรงซื้อสุทธิ 18,000 ล้านบาทในตราสารหนี้ระยะยาว ในช่วงระยะเวลาเพียง 5 วันทำการ หรือคิดเป็นปริมาณเกือบครึ่งหนึ่งของส่วนที่เคย Outflow ในช่วง 4 – 5 เดือนก่อนหน้านี้ ช่วยสะท้อนให้เห็นว่าตลาดตราสารหนี้ไทยยังเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่น่าลงทุนในมุมมองของต่างชาติ จากราคาที่เคยปรับตัวลดลงไปค่อนข้างมาก ซึ่งนักลงทุนทั่วไปอาจนำมาปรับใช้กับการลงทุนของตนเองได้เช่นกัน และถึงแม้ว่าผลตอบแทนที่จะได้จากการลงทุนในตราสารหนี้อาจไม่สูงนักเมื่อเทียบกับการลงทุนในหุ้นสามัญ แต่ความผันและความเสี่ยงก็อยู่ในระดับที่ต่ำกว่าค่อนข้างมากค่ะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The inflow of foreign money and influence investments in the bond market, Thailand.By enough to stare at the amount of light, research and development.นับตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา ประเทศไทยต้องเผชิญกับภาวะการไหลเข้า-ออกของเม็ดเงินต่างชาติที่ค่อนข้างผันผวน จากที่เคยไหลเข้า (Inflow) ในปริมาณมากช่วงต้นปี จนกระทั่งมีการไหลออก (Outflow) อย่างต่อเนื่องในช่วง 4 – 5 เดือนก่อนหน้า และเริ่มไหลกลับเข้ามาอีกครั้งในช่วง 1 – 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา การเปลี่ยนทิศทางของกระแสเงินทุนต่างชาติ ส่งผลให้ราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ และราคาตราสารหนี้ปรับตัวขึ้น-ลง ตามไปด้วยอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะในช่วงเดือน พ.ค. – ส.ค. (4 เดือน) มีเม็ดเงินต่างชาติไหลออกไปจากตลาดตราสารหนี้ไทยรวมกันกว่า 170,000 ล้านบาท โดยในจำนวนนี้แบ่งเป็น Outflow ที่เกิดจากแรงขายในตราสารหนี้ระยะสั้น (อายุคงเหลือน้อยกว่า 1 ปี) 20,000 ล้านบาท Outflow ที่เกิดจากแรงขายในตราสารหนี้ระยะยาว (อายุคงเหลือมากกว่า 1 ปี) 40,000 ล้านบาท และที่เหลืออีกประมาณ 110,000 ล้านบาทเกิดจากการหมดอายุของตราสารหนี้ที่นักลงทุนต่างชาติเคยถือครองเอาไว้ ซึ่งตัวเลขที่เกิดขึ้นทำให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่า การไหลออกของเม็ดเงินในช่วงที่ผ่านมาเป็นการไหลออกไปจากตราสารหนี้อายุสั้นๆเป็นหลัก (110,000 + 20,000 = 130,000 ล้านบาท) ขณะที่ Outflow จากตราสารหนี้ระยะยาวที่ถึงแม้จะมีปริมาณค่อนข้างสูง แต่ยังอยู่ในระดับที่ไม่น่าเป็นกังวลมากนัก เมื่อเทียบกับยอดการถือครอง (Holding) ตราสารหนี้ระยะยาวทั้งหมดของนักลงทุนต่างชาติที่มีอยู่รวมกันกว่า 590,000 ล้านบาท ในช่วงเวลานั้นอย่างไรก็ตาม Outflow ที่เกิดขึ้น มีผลทำให้ราคาตราสารหนี้ปรับตัวลดลงในทุกๆ ช่วงอายุ หรือในอีกมุมหนึ่งอาจกล่าวได้ว่าผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้ (Yield) ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดย Yield ของพันธบัตรอายุ 5 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากระดับ 3.0% ในช่วงเดือน พ.ค. มาอยู่ที่ 3.7% ขณะที่ Yield ของพันธบัตรอายุ 10 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากระดับ 3.5% มาอยู่ที่ 4.3% ณ สิ้นเดือน ส.ค. ขณะที่เงินบาทอ่อนค่าลงประมาณ 5.4% จาก 30.41 บาท/USD ในเดือน พ.ค. ไปอยู่ที่ 32.06 บาท/USD ณ สิ้นเดือน ส.ค. ทั้งนี้ ปัจจัยที่ทำให้เม็ดเงินต่างชาติไหลออกจากประเทศไทยในช่วง 4 – 5 เดือนที่ผ่านมา อาจแบ่งได้เป็น 2 ส่วนด้วยกัน เริ่มจาก ความกังวลว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) อาจลดขนาดของมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) หลังเศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นตามลำดับ ทั้งตัวเลขผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานที่ลดลงจนแตะระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี ขณะที่ GDP ไตรมาส 2/56 ของสหรัฐฯ ที่ขยายตัวกว่า 2.5% เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ทำให้หลายฝ่ายคาดการณ์ว่า Fed น่าจะเริ่มทำการลดขนาดของมาตรการ QE ในช่วงปลายปี 2556 โดยเฉพาะในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (FOMC) ที่จะมีขึ้นในเดือน ก.ย. ที่ตลาดคาดว่าจะมีความชัดเจนเกี่ยวกับการลดขนาด QE มากขึ้น ขณะที่อีกปัจจัยที่ส่งผลให้เกิด Outflow ของเม็ดเงินต่างชาติ คือแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งหลังของปี 2556 ที่ปรับตัวแย่ลงในเกือบทุกด้าน โดยตัวเลขการส่งออกที่ยังคงหดตัวต่อเนื่องตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจในประเทศอุตสาหกรรมหลักโดยเฉพาะประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดส่งออกที่สำคัญของไทย ส่งผลให้ GDP ของไทยในไตรมาส 2/2556 ขยายตัวได้เพียง 2.8% ซึ่งชะลอลงจาก 5.4% ในไตรมาสก่อนหน้า มุมมองทางเศรษฐกิจที่แย่ลงมีส่วนทำให้เกิด Outflow ของเม็ดเงินต่างชาติตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม ภายหลังการประชุม FOMC ในช่วงกลางเดือน ก.ย. ที่ผ่านมา ที่มีมติไม่ลดขนาดของมาตรการ QE ตามที่หลายฝ่ายเคยคาดการณ์เอาไว้ ส่งผลให้เม็ดเงินต่างชาติที่เคยไหลออกไปในช่วงก่อนหน้า ไหลกลับเข้าสู่ประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง โดยในช่วงระหว่างวันที่ 16 – 20 ก.ย. ต่างชาติกลับเข้ามาซื้อสุทธิในตลาดตราสารหนี้ไทยกว่า 66,000 ล้านบาท โดยในจำนวนนี้เป็นการกลับเข้ามาซื้อสุทธิในตราสารระยะสั้น 48,000 ล้านบาท และซื้อสุทธิในตราสารระยะยาว 18,000 ล้านบาท อย่างไรก็ตามแรงซื้อที่เกิดขึ้นในช่วง 5 วันที่ผ่านมา ส่วนใหญ่แล้วกระจุกตัวในตราสารหนี้ระยะสั้นซึ่งจะทยอยหมดอายุไปในอีกไม่กี่วันข้างหน้า จึงคาดว่าเราอาจจะเห็นยอดซื้อสุทธิต่อเนื่องไปอีกซักระยะเวลาหนึ่ง โดยเป็นการซื้อเพื่อทดแทนตราสารหนี้ตัวเดิมที่หมดอายุลงไปเป็นหลัก แต่สิ่งที่น่าสนใจก็คือ แรงซื้อสุทธิ 18,000 ล้านบาทในตราสารหนี้ระยะยาว ในช่วงระยะเวลาเพียง 5 วันทำการ หรือคิดเป็นปริมาณเกือบครึ่งหนึ่งของส่วนที่เคย Outflow ในช่วง 4 – 5 เดือนก่อนหน้านี้ ช่วยสะท้อนให้เห็นว่าตลาดตราสารหนี้ไทยยังเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่น่าลงทุนในมุมมองของต่างชาติ จากราคาที่เคยปรับตัวลดลงไปค่อนข้างมาก ซึ่งนักลงทุนทั่วไปอาจนำมาปรับใช้กับการลงทุนของตนเองได้เช่นกัน และถึงแม้ว่าผลตอบแทนที่จะได้จากการลงทุนในตราสารหนี้อาจไม่สูงนักเมื่อเทียบกับการลงทุนในหุ้นสามัญ แต่ความผันและความเสี่ยงก็อยู่ในระดับที่ต่ำกว่าค่อนข้างมากค่ะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The influx of foreign investment And the effect on investment in the Thai bond market

by อพิ Prof. shoots the light, and

.Since last year. Thailand faced with flow conditions in - out of foreign reserves rather fluctuate from เคยไหล (Inflow) in large quantities, early years. Until the outflow (Outflow) continuously during the 4 - 5.And began to flow back in again in the 1 - 2 weeks. To change the direction of international capital flows A result, the price of stock on the stock exchange. Price inflation and debt - down along significantly.B.C. - Aug (4 month) with foreign capital flowing out from the Thai bond market, more than 170 000 million โดยในจำนวน is divided into Outflow. Arising from the sales force in the short-term debt (age less than 1 remaining years), 20
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: