การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประการแรก เพื่อศึกษาการใช้งานระบบบริหารง การแปล - การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประการแรก เพื่อศึกษาการใช้งานระบบบริหารง อังกฤษ วิธีการพูด

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประกา

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประการแรก เพื่อศึกษาการใช้งานระบบบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประการที่สอง เพื่อเสนอแนะความพึงพอใจการใช้ระบบบริหารงานบุคคล ผู้วิจัยดำเนินการศึกษา ค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ทำงานในตำแหน่งบุคลากรจากหน่วยงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำหรับวัดความพึงพอใจการใช้งานระบบบริหารงานบุคคล ซึ่งมีการวิเคราะห์ข้อมูลและนำมาประมวลผลโดยหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าคะแนนเฉลี่ย(Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t-test) ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) โดยใช้สัมประสิทธิ์อัลฟ่า (Alpha Coefficient) ของครอนบาคค่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance)
ผลการวิจัย พบว่า ประสิทธิภาพที่มีต่อการใช้งานระบบบริหารงานบุคคล เป็นไปในทิศทางเดียวกันจากการใช้ระบบบริหารงานบุคคลในส่วนของ งานกองบริหารงานบุคคล และงานบริหารงานทั่วไป การตั้งค่าและคู่มือ และการออกจากระบบ ซึ่งในการใช้งานระบบย่อยลงไปในแต่ละหน้าที่ของแต่ละงานเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย จากการวิเคราะห์ความพึงพอใจในภาพรวม และการวิเคราะห์ความพึงพอใจระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ เพศชาย-หญิง และสายสนับสนุน (เจ้าหน้าที่)-สายวิชาการ (อาจารย์) มีความพึงพอใจในประสิทธิภาพการใช้งานระบบบริหารงานบุคคล อยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบเพื่อช่วยให้มีความสะดวกในการใช้ระบบ คือ 1) การใช้งานของระบบควรรองรับการทำงานของระบบอินเตอร์เน็ตได้ทุกระบบ 2) การอบรมการใช้งานระบบ ควรปรับปรุง และพัฒนาระบบให้มีความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง 3) การพัฒนาระบบให้เป็นแอพพลิเคชั่นใช้งานร่วมกับโทรศัพท์มือถือสมาร์ท โฟนในอนาคต
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประการแรก เพื่อศึกษาการใช้งานระบบบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประการที่สอง เพื่อเสนอแนะความพึงพอใจการใช้ระบบบริหารงานบุคคล ผู้วิจัยดำเนินการศึกษา ค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ทำงานในตำแหน่งบุคลากรจากหน่วยงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำหรับวัดความพึงพอใจการใช้งานระบบบริหารงานบุคคล ซึ่งมีการวิเคราะห์ข้อมูลและนำมาประมวลผลโดยหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าคะแนนเฉลี่ย(Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t-test) ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) โดยใช้สัมประสิทธิ์อัลฟ่า (Alpha Coefficient) ของครอนบาคค่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance) ผลการวิจัย พบว่า ประสิทธิภาพที่มีต่อการใช้งานระบบบริหารงานบุคคล เป็นไปในทิศทางเดียวกันจากการใช้ระบบบริหารงานบุคคลในส่วนของ งานกองบริหารงานบุคคล และงานบริหารงานทั่วไป การตั้งค่าและคู่มือ และการออกจากระบบ ซึ่งในการใช้งานระบบย่อยลงไปในแต่ละหน้าที่ของแต่ละงานเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย จากการวิเคราะห์ความพึงพอใจในภาพรวม และการวิเคราะห์ความพึงพอใจระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ เพศชาย-หญิง และสายสนับสนุน (เจ้าหน้าที่)-สายวิชาการ (อาจารย์) มีความพึงพอใจในประสิทธิภาพการใช้งานระบบบริหารงานบุคคล อยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบเพื่อช่วยให้มีความสะดวกในการใช้ระบบ คือ 1) การใช้งานของระบบควรรองรับการทำงานของระบบอินเตอร์เน็ตได้ทุกระบบ 2) การอบรมการใช้งานระบบ ควรปรับปรุง และพัฒนาระบบให้มีความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง 3) การพัฒนาระบบให้เป็นแอพพลิเคชั่นใช้งานร่วมกับโทรศัพท์มือถือสมาร์ท โฟนในอนาคต
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
This research is the first objective. To study the personnel management system. Rajamangala University of Technology Phra Nakhon, secondly, to give satisfaction to the personnel management system. The researchers conducted the study Research and collect data from a sample of the work in personnel from other agencies. Campus The questionnaire was used to measure the satisfaction of the personnel management system. Which are analyzed and processed by frequency (Frequency), percentage (Percentage) the Average (Mean) and standard deviation (Standard Deviation) The mean of the sample 2 groups tested. T (t-test) the reliability of the questionnaire. (Reliability) using coefficient alpha (Alpha Coefficient) of Cronbach mean scores of a sample of more than 2 groups, analysis, ANOVA (One Way Analysis of Variance)
results showed that the effect of. the personnel management system. Is in the same direction from the system of personnel administration. Division of Personnel Management And general administration Manual settings And out In which the subsystem into each page of each job, according to the hypothesis. The analysis of overall satisfaction. And analysis of satisfaction between the two groups, the sample was male - female and support line. (Staff) - Academic (teachers) are satisfied with the performance of the personnel management system. At a high level The feedback system to help with the ease of use of the system are: 1) the use of the system should support the operation of the Internet system, 2) training system should be improved and developed. consistently and continuously, 3) the development of the app functions for use with mobile phones, smart phones in the future.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The purpose of this research is in the first place. To study the use of personal management system Rajamangala University of technology. Secondly to suggest the satisfaction using personnel management system were studied.Within the University. The questionnaire is a tool for measuring the satisfaction use personal management system The analysis of data and analyzed by frequency (Frequency) percentage (Percentage) score, average (Mean).(Standard Deviation) scores of the 2 group use t test (t-test) the reliability of the questionnaire (Reliability). Using alpha coefficient (Alpha Coefficient) of Cronbach scores were more than 2.(One Way Analysis of Variance)
.The results showed that efficient to use personal management system Is in the same direction from using the personal management system on the part of the division of personnel management, และงานบริหาร general setting and manual. And out of the system.Analysis of satisfaction overall. Analysis of satisfaction between the two groups and 2 is male or female, and supporting (เจ้าหน้าที่) - academic (Professor).At a high level. The suggestions on the development of the system to help with the ease of use system, is 1), the use of the system should support the work of the Internet for all systems. 2) training system using, should be improved.3) system development to applications compatible with mobile smartphone in the future!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: