ยุคดั้งเดิม (ก่อนปี พ.ศ.2500) สืบเนื่องมาจากการละเล่น ปู่เยอย่าเยอ ควา การแปล - ยุคดั้งเดิม (ก่อนปี พ.ศ.2500) สืบเนื่องมาจากการละเล่น ปู่เยอย่าเยอ ควา อังกฤษ วิธีการพูด

ยุคดั้งเดิม (ก่อนปี พ.ศ.2500) สืบเน

ยุคดั้งเดิม (ก่อนปี พ.ศ.2500) สืบเนื่องมาจากการละเล่น ปู่เยอย่าเยอ ความเชื่อที่ผสมผสานระหว่างพุทธ พราหมณ์ ผี ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจาก อาณาจักรล้านช้างโบราณ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพวิถีชุมชน ในด้านเศรษฐกิจ การเมือง การปกครองของชาวด่านซ้ายเอง
ยุคแสวงหา (ระหว่างปีพ.ศ.2500-2530) ซึ่งพัฒนาการของงานประเพณีผีตาโขนในยุคนี้เกิดขึ้นพร้อมๆ กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเข้ามามีส่วนบริหารงานประเพณีของทางราชการ ตลอดจนแนวคิดของคนรุ่นใหม่ และกระแสตอบรับการท่องเที่ยว ได้ทำให้เกิดการช่วงชิงและขัดแย้งทางความคิด ในการที่จะกำหนดทิศทางพัฒนาการละเล่นผีตาโขน โดยมีแนวความคิด แยกออกเป็น 3 ทิศทางคือ ฝ่ายที่ต้องการให้เป็นไปแบบดั้งเดิม ฝ่ายต้องการรูปแบบใหม่เพื่อผลทางเศรษฐกิจ และฝ่ายที่ต้องการผสมผสาน แต่ในที่สุดแนวคิดทั้งหมดก็สามารถตกผลึกเกิดเป็นประเพณีผีตาโขนยุคนี้ และจากแรงหนุนของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผ่านสื่อมวลชนทุกแขนง จากการนำการละเล่นผีตาโขนออกไปแสดงเผยแพร่ยังทุกหนทุกแห่งเพื่อการประชาสัมพันธ์ ทำให้ประเพณีผีตาโขนอำเภอด่านซ้าย มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ และเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยวทั่วไป เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยว ขบวนแห่การแสดงผีตาโขนจึงเกิดขึ้นเพิ่มเติมจากประเพณีดั้งเดิม มีการจัดประกวดขบวนแห่ การประกวดหน้ากากผีตาโขน การประกวดท่าเต้นที่สวยงาม ทั้งหมดนี้ส่งผลให้ ความคิดความเชื่อข้อห้ามข้อปฏิบัติในการละเล่นผีตาโขนเปลี่ยนแปลงไป ผู้เล่นผีตาโขนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปี การจัดทำหน้ากากผีตาโขนจากรูปแบบดั้งเดิมถูกปรับประยุกต์เป็นผีตาโขนแนวใหม่ ตามหลักวิชาการศิลปะกับเทคโนโลยี สมัยใหม่ และกลไกของตลาด ชาวอำเภอด่านซ้ายทั่วไปปรับตัวในลักษณะยอมรับการท่องเที่ยวเหล่านี้เป็นต้นเค้าแห่งการเปลี่ยนแปลง ซึ่งต่อมาผีตาโขนก็กลายเป็นประเพณีเพื่อการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และมีพัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้นด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ที่ต้องการส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็นหลักในยุคปัจจุบัน ระหว่างปี พ.ศ.2530 เป็นต้นมา เมื่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้บรรจุประเพณีผีตาโขนลงในแผนส่งเสริมการท่องเที่ยว นับจากปี พ.ศ.2531 เพื่อยกระดับการละเล่นผีตาโขนให้ถูกใจตลาดจึงมีการเพิ่มสีสันให้มีความหลากหลาย ในที่สุดผีตาโขนจึงพัฒนาจากการละเล่นตามระบบความเชื่อในพิธีกรรมเกี่ยวกับชีวิต พิธีกรรมเกี่ยวกับการทำมาหากิน และพิธีกรรมเพื่อส่วนรวม ปรับเปลี่ยนเป็นการแสดงเพื่อความสนุกสนานบันเทิงเริงรมย์เป็นด้านหลัก จนมีเสียงเรียกร้องและมีการตั้งคำถามถึงเป้าประสงค์ของการจัดงานมากขึ้น

ยุคปัจจุบัน (ระหว่างปีพ.ศ.2530–2546) เป็นยุคที่เกิดการปรับเปลี่ยนไปในลักษณะก้าวกระโดดก้าวใหญ่ เมื่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยบรรจุให้ประเพณีผีตาโขน อำเภอด่านซ้าย อยู่ในแผนการท่องเที่ยว และชาวบ้านอำเภอด่านซ้ายทั่วไปก็มีการปรับตัวในลักษณะตอบสนองและยอมรับการท่องเที่ยว การละเล่นผีตาโขนที่ใช้ประกอบพิธีกรรมจึงถูกปรับแนวให้เป็นการแสดงเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ดูชม มีการจัดฉากแสดงการพูด การแข่งขัน ตลอดจนปรับปรุงเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบสำคัญๆ ทั้งคน อุปกรณ์ กิจกรรม สถานที่ แต่อย่างไรก็ตามพิธีกรรมที่เคยมีแต่โบราณไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วย ผู้ละเล่นผีตาโขนจึงมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ผู้ละเล่นตามพิธีกรรม และกลุ่มผู้ละเล่นเพื่อการแสดง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Legacy era (before 2500 (1957)) Derived from the traditional belief that praise praise grandfather Grandpa is a mix between a Brahmin Buddhist ghost that has been transmitted from the ancient Kingdom of LAN Xang to fit in the ways of life in the economy. To the city. Of domination by Dan left itself. ยุคแสวงหา (ระหว่างปีพ.ศ.2500-2530) ซึ่งพัฒนาการของงานประเพณีผีตาโขนในยุคนี้เกิดขึ้นพร้อมๆ กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเข้ามามีส่วนบริหารงานประเพณีของทางราชการ ตลอดจนแนวคิดของคนรุ่นใหม่ และกระแสตอบรับการท่องเที่ยว ได้ทำให้เกิดการช่วงชิงและขัดแย้งทางความคิด ในการที่จะกำหนดทิศทางพัฒนาการละเล่นผีตาโขน โดยมีแนวความคิด แยกออกเป็น 3 ทิศทางคือ ฝ่ายที่ต้องการให้เป็นไปแบบดั้งเดิม ฝ่ายต้องการรูปแบบใหม่เพื่อผลทางเศรษฐกิจ และฝ่ายที่ต้องการผสมผสาน แต่ในที่สุดแนวคิดทั้งหมดก็สามารถตกผลึกเกิดเป็นประเพณีผีตาโขนยุคนี้ และจากแรงหนุนของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผ่านสื่อมวลชนทุกแขนง จากการนำการละเล่นผีตาโขนออกไปแสดงเผยแพร่ยังทุกหนทุกแห่งเพื่อการประชาสัมพันธ์ ทำให้ประเพณีผีตาโขนอำเภอด่านซ้าย มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ และเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยวทั่วไป เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยว ขบวนแห่การแสดงผีตาโขนจึงเกิดขึ้นเพิ่มเติมจากประเพณีดั้งเดิม มีการจัดประกวดขบวนแห่ การประกวดหน้ากากผีตาโขน การประกวดท่าเต้นที่สวยงาม ทั้งหมดนี้ส่งผลให้ ความคิดความเชื่อข้อห้ามข้อปฏิบัติในการละเล่นผีตาโขนเปลี่ยนแปลงไป ผู้เล่นผีตาโขนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปี การจัดทำหน้ากากผีตาโขนจากรูปแบบดั้งเดิมถูกปรับประยุกต์เป็นผีตาโขนแนวใหม่ ตามหลักวิชาการศิลปะกับเทคโนโลยี สมัยใหม่ และกลไกของตลาด ชาวอำเภอด่านซ้ายทั่วไปปรับตัวในลักษณะยอมรับการท่องเที่ยวเหล่านี้เป็นต้นเค้าแห่งการเปลี่ยนแปลง ซึ่งต่อมาผีตาโขนก็กลายเป็นประเพณีเพื่อการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และมีพัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้นด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ที่ต้องการส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็นหลักในยุคปัจจุบัน ระหว่างปี พ.ศ.2530 เป็นต้นมา เมื่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้บรรจุประเพณีผีตาโขนลงในแผนส่งเสริมการท่องเที่ยว นับจากปี พ.ศ.2531 เพื่อยกระดับการละเล่นผีตาโขนให้ถูกใจตลาดจึงมีการเพิ่มสีสันให้มีความหลากหลาย ในที่สุดผีตาโขนจึงพัฒนาจากการละเล่นตามระบบความเชื่อในพิธีกรรมเกี่ยวกับชีวิต พิธีกรรมเกี่ยวกับการทำมาหากิน และพิธีกรรมเพื่อส่วนรวม ปรับเปลี่ยนเป็นการแสดงเพื่อความสนุกสนานบันเทิงเริงรมย์เป็นด้านหลัก จนมีเสียงเรียกร้องและมีการตั้งคำถามถึงเป้าประสงค์ของการจัดงานมากขึ้น ยุคปัจจุบัน (ระหว่างปีพ.ศ.2530–2546) เป็นยุคที่เกิดการปรับเปลี่ยนไปในลักษณะก้าวกระโดดก้าวใหญ่ เมื่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยบรรจุให้ประเพณีผีตาโขน อำเภอด่านซ้าย อยู่ในแผนการท่องเที่ยว และชาวบ้านอำเภอด่านซ้ายทั่วไปก็มีการปรับตัวในลักษณะตอบสนองและยอมรับการท่องเที่ยว การละเล่นผีตาโขนที่ใช้ประกอบพิธีกรรมจึงถูกปรับแนวให้เป็นการแสดงเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ดูชม มีการจัดฉากแสดงการพูด การแข่งขัน ตลอดจนปรับปรุงเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบสำคัญๆ ทั้งคน อุปกรณ์ กิจกรรม สถานที่ แต่อย่างไรก็ตามพิธีกรรมที่เคยมีแต่โบราณไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วย ผู้ละเล่นผีตาโขนจึงมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ผู้ละเล่นตามพิธีกรรม และกลุ่มผู้ละเล่นเพื่อการแสดง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The traditional (first year 2500) sequel to grandfather grandma yoe yoe skits beliefs blend between Buddhist Brahman, ghost, who inherited from. LAN Xang, ancient to fit the community in economy, politics, the parents of the stage left.The seek (between the 2500-2530). The development of the ghost dance festival in this era occurred at the same time. With economic growth. The tradition of public administration in As well as the concept of a new generation. And the response to tourism. Has caused the controversy and the conflict of ideas. In order to determine the direction of development play the ghost dance, the concept is divided into 3 direction is the preferred to traditional. The need for the new style economic and the desired blend. But in the end the whole concept, it can crystallize a tradition of ghost dance these days. And from the support of all branches of tourism through the mass media. The ghost dance show off games publishers also everywhere to the public. The tradition of ghost dance Dan Sai District Famous international. It is of interest to tourists in general. To promote tourism. The parade show ghost dance arose more from tradition to contest the parade contest mask ghost dance beautiful dance contest. All of this result. The beliefs prohibited practices in skits ghost dance changes. The ghost dance there are more and more every year, the ghost dance from the traditional style mask is applied as the ghost dance new According to theory of art and modern technology, and the mechanism of the market. The Dan Sai District general adjustment in the acceptance of these tourism etc. He of the changes. Which later ghost dance become a tradition to cultural tourism And development change more and more economic reasons. To promote tourism as the main modern between 1996 2530 onwards. เมื่อการท่อง dance
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: