ปัจจุบันศูนย์ศึกษาฯ มีผลการศึกษาที่ประสบความสำเร็จแล้วในหลาย ๆ ด้าน ทั การแปล - ปัจจุบันศูนย์ศึกษาฯ มีผลการศึกษาที่ประสบความสำเร็จแล้วในหลาย ๆ ด้าน ทั อังกฤษ วิธีการพูด

ปัจจุบันศูนย์ศึกษาฯ มีผลการศึกษาที่

ปัจจุบันศูนย์ศึกษาฯ มีผลการศึกษาที่ประสบความสำเร็จแล้วในหลาย ๆ ด้าน ทั้งด้านการปลูกพืชหลาย ๆ ชนิดในสภาพพื้นที่ต่าง ๆ การเลี้ยงสัตว์ที่ถูกวิธี การประมง ฯลฯ โดยได้มีการสาธิตไว้ในลักษณะของ "พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต" ซึ่งวิธีการเหล่านี้เป็นวิธีการที่ง่าย ๆ เกษตรกรสามารถนำไปเป็นความรู้ในการประกอบอาชีพได้ ดังนั้น ประชาชนทุกหมู่เหล่าสามารถเข้าไปศึกษาหาความรู้ที่ศูนย์ศึกษาฯ ใกล้บ้านได้อย่างครบถ้วน หรือจะขอไปเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรต่าง ๆ ได้เช่นกันสำนักงาน กปร. และศูนย์ศึกษาฯ พร้อมที่จะให้บริการกับทุกท่าน ทั้งนี้ เพื่อจะได้นำความรู้จากศูนย์ศึกษาฯ ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง สมดังพระราชปณิธานแห่งองค์ "พระมหากษัตริย์นักพัฒนาผู้ยิ่งใหญ่"
การที่เกษตรกรจะสามารถทำการเพาะปลูกให้ได้ผลผลิตมากขึ้นและสามารถเลี้ยงตัวเองได้นั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ในการทำการเกษตร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญอย่างยิ่งต่อการส่งเสริมความรู้ในเรื่องการทำการเกษตรอย่างมีหลักวิชาและใช้เทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ ซึ่งจะช่วยให้ราษฎมีความสามารถในการผลิตเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ความรู้ในเรื่องการปรับปรุงบำรุงดิน การรักษาป่าไม้เพื่อให้เกิดความชุ่มชื้นกับดิน ตลอดจนการปลูกพืชที่เหมาะสม การประมง หรือทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของราษฎรในท้องถิ่น จึงเป็นเรื่องที่ควรต้องส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงเน้นถึงความจำเป็นที่จะต้องมี "ตัวอย่างของความสำเร็จ"เผยแพร่ความรู้การทำการเกษตรอย่างมีหลักวิชา ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ไปสู่เกษตรกรด้วยวิธีการที่เข้าใจได้ง่าย และสามารถนำไปปฏิบัติที่เป็นจริงได้ จึงพระราชทานพระราชดำริให้ดำเนินการจัดตั้ง "ศูนย์ศึกษาการพัฒนา" ขึ้นในทุกภูมิภาค เพื่อเป็นศูนย์รวมของการศึกษาค้นคว้าในด้านการพัฒนาแขนงต่าง ๆ เฉพาะภูมิภาคเฉพาะท้องถิ่น และเป็นศูนย์รวมของหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทุกด้านได้มาร่วมกันเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ราษฎรในการทำการเกษตรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาแต่ละศูนย์นั้น ได้ดำเนินการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่นั้น ๆ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมและสภาพปัญหาของการพัฒนา แล้วดำเนินการพัฒนาตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมเฉพาะพื้นที่ และสอดคล้องกับการประกอบอาชีพของราษฎรในพื้นที่นั้น ๆ ผลจากการทดลองวิจัยนี้ได้นำไปเผยแพร่สู่ราษฎรด้วยวิธีปฏิบัติที่ง่าย ราษฎรสามารถนำไปปฏิบัติเองได้ โดยจัดให้มีการสาธิตและอบรมในรูปแบบต่าง ๆ จึงกล่าวได้ว่าศูนย์ศึกษาการพัฒนาเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมเพื่อให้ราษฎรในท้องถิ่นต่าง ๆ สามารถพัฒนาอาชีพการเกษตรของตนเองให้มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตมากขึ้นจนสามารถเลี้ยงตัวเอง ได้ในระยะยาว
ในปัจจุบันมีศูนย์ศึกษาการพัฒนา ๖ ศูนย์ กระจายอยู่ตามภาคต่าง ๆ ดังนี้
๑. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ดำเนินการค้นคว้า ทดลองและสาธิตเกี่ยวกับการพัฒนาที่ทำกินของราษฎรให้มีความอุดมสมบูรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของพืชหลายชนิด
๒. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี ดำเนินการศึกษาแนวทางและวิธีการที่จะพัฒนาฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม โดยหาวิธีการที่จะให้เกษตรกรมีส่วนในการปลูก ปรับปรุงและรักษาสภาพป่าพร้อม ๆ กับมีรายได้และผลประโยชน์จากป่าด้วย
๓. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดจันทบุรี ดำเนินการศึกษาและค้นคว้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมด้านประมงชายฝั่ง เพื่อให้เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิต ซึ่งจะสามารถเลี้ยงตัวเองได้
๔. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร ดำเนินการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการทำเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของภาคตะวันออกเฉียง เหนือ โดยเน้นการปรับปรุงบำรุงดิน การเร่งรัดพัฒนาป่าไม้โดยอาศัยระบบชลประทานและการปลูกพืชเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อการเพิ่มรายได้ของเกษตรกร
๕. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับรูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำลำธาร เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ รวมทั้งรูปแบบการพัฒนาต่าง ๆ ที่ทำให้เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้โดยไม่ทำลายสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
๖. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนราธิวาส ดำเนินการศึกษาวิจัยดินพรุที่มีอยู่อย่างกว้างขวางในภาคใต้ ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรมให้ได้มากที่สุด
ในด้านการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นในเรื่องการค้นคว้าทดลอง และวิจัยพืชชนิดต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับท้องถิ่น ทั้งพืชเศรษฐกิจ เช่น หม่อนไหม ยางพารา ฯลฯ พืชเพื่อการปรับปรุงบำรุงดินและพืชสมุนไพร ตลอดจนการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืชหรือพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมเพื่อแนะนะให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติได้ นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงเน้นการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติให้มากที่สุด เป็นการลดค่าใช้จ่ายของเกษตรกร อาทิทรงสนับสนุนให้เกษตรใช้โคและกระบือเป็นแรงงานในการทำไร่ทำนามากกว่าการใช้เครื่องจักร การปลูกพืชหมุนเวียนโดยเฉพาะพืชตระกูลถั่ว เป็นการลดค่าใช้จ่ายเรื่องปุ๋ย หากในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมีซึ่งมีราคาแพงและมีผลกระทบต่อสภาพและคุณภาพของดินในระยะยาว และทรงแนะนำเกษตรกรในเรื่องการผลิตก๊าซชีวภาพ ซึ่งมีผลดีทั้งในด้านเชื้อเพลิงและปุ๋ย
การค้นคว้าทดลองด้านการเกษตรที่มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและปัจจัยด้านการเกษตรที่มีอยู่ในประเทศ นำมาใช้อย่างประหยัดและให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้น จะเห็นได้จากโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดำเนินการค้นคว้าทดลองโครงการต่าง ๆ เป็นการส่วนพระองค์มาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2505 แต่ละโค
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
There are currently zero sueksa study has been successful in many types of plants in different areas of animals is how. We have been fishing demo in the style of a "natural museum", in which these methods are simple methods. Farmers can be brought to the knowledge of the profession. Therefore, All these people can study the village Knowledge Center, near the home of sueksa or to request to attend various courses, as well as offices and centers with sueksa kapon, everybody will be able to apply knowledge from extensive sueksa. SOM designed elements of the full range of "King of great developers."การที่เกษตรกรจะสามารถทำการเพาะปลูกให้ได้ผลผลิตมากขึ้นและสามารถเลี้ยงตัวเองได้นั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ในการทำการเกษตร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญอย่างยิ่งต่อการส่งเสริมความรู้ในเรื่องการทำการเกษตรอย่างมีหลักวิชาและใช้เทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ ซึ่งจะช่วยให้ราษฎมีความสามารถในการผลิตเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ความรู้ในเรื่องการปรับปรุงบำรุงดิน การรักษาป่าไม้เพื่อให้เกิดความชุ่มชื้นกับดิน ตลอดจนการปลูกพืชที่เหมาะสม การประมง หรือทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของราษฎรในท้องถิ่น จึงเป็นเรื่องที่ควรต้องส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงเน้นถึงความจำเป็นที่จะต้องมี "ตัวอย่างของความสำเร็จ"เผยแพร่ความรู้การทำการเกษตรอย่างมีหลักวิชา ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ไปสู่เกษตรกรด้วยวิธีการที่เข้าใจได้ง่าย และสามารถนำไปปฏิบัติที่เป็นจริงได้ จึงพระราชทานพระราชดำริให้ดำเนินการจัดตั้ง "ศูนย์ศึกษาการพัฒนา" ขึ้นในทุกภูมิภาค เพื่อเป็นศูนย์รวมของการศึกษาค้นคว้าในด้านการพัฒนาแขนงต่าง ๆ เฉพาะภูมิภาคเฉพาะท้องถิ่น และเป็นศูนย์รวมของหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทุกด้านได้มาร่วมกันเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ราษฎรในการทำการเกษตรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องศูนย์ศึกษาการพัฒนาแต่ละศูนย์นั้น ได้ดำเนินการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่นั้น ๆ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมและสภาพปัญหาของการพัฒนา แล้วดำเนินการพัฒนาตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมเฉพาะพื้นที่ และสอดคล้องกับการประกอบอาชีพของราษฎรในพื้นที่นั้น ๆ ผลจากการทดลองวิจัยนี้ได้นำไปเผยแพร่สู่ราษฎรด้วยวิธีปฏิบัติที่ง่าย ราษฎรสามารถนำไปปฏิบัติเองได้ โดยจัดให้มีการสาธิตและอบรมในรูปแบบต่าง ๆ จึงกล่าวได้ว่าศูนย์ศึกษาการพัฒนาเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมเพื่อให้ราษฎรในท้องถิ่นต่าง ๆ สามารถพัฒนาอาชีพการเกษตรของตนเองให้มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตมากขึ้นจนสามารถเลี้ยงตัวเอง ได้ในระยะยาวในปัจจุบันมีศูนย์ศึกษาการพัฒนา ๖ ศูนย์ กระจายอยู่ตามภาคต่าง ๆ ดังนี้
๑. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ดำเนินการค้นคว้า ทดลองและสาธิตเกี่ยวกับการพัฒนาที่ทำกินของราษฎรให้มีความอุดมสมบูรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของพืชหลายชนิด
๒. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี ดำเนินการศึกษาแนวทางและวิธีการที่จะพัฒนาฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม โดยหาวิธีการที่จะให้เกษตรกรมีส่วนในการปลูก ปรับปรุงและรักษาสภาพป่าพร้อม ๆ กับมีรายได้และผลประโยชน์จากป่าด้วย
๓. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดจันทบุรี ดำเนินการศึกษาและค้นคว้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมด้านประมงชายฝั่ง เพื่อให้เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิต ซึ่งจะสามารถเลี้ยงตัวเองได้
๔. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร ดำเนินการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการทำเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของภาคตะวันออกเฉียง เหนือ โดยเน้นการปรับปรุงบำรุงดิน การเร่งรัดพัฒนาป่าไม้โดยอาศัยระบบชลประทานและการปลูกพืชเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อการเพิ่มรายได้ของเกษตรกร
๕. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับรูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำลำธาร เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ รวมทั้งรูปแบบการพัฒนาต่าง ๆ ที่ทำให้เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้โดยไม่ทำลายสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
๖. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนราธิวาส ดำเนินการศึกษาวิจัยดินพรุที่มีอยู่อย่างกว้างขวางในภาคใต้ ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรมให้ได้มากที่สุด
ในด้านการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นในเรื่องการค้นคว้าทดลอง และวิจัยพืชชนิดต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับท้องถิ่น ทั้งพืชเศรษฐกิจ เช่น หม่อนไหม ยางพารา ฯลฯ พืชเพื่อการปรับปรุงบำรุงดินและพืชสมุนไพร ตลอดจนการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืชหรือพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมเพื่อแนะนะให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติได้ นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงเน้นการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติให้มากที่สุด เป็นการลดค่าใช้จ่ายของเกษตรกร อาทิทรงสนับสนุนให้เกษตรใช้โคและกระบือเป็นแรงงานในการทำไร่ทำนามากกว่าการใช้เครื่องจักร การปลูกพืชหมุนเวียนโดยเฉพาะพืชตระกูลถั่ว เป็นการลดค่าใช้จ่ายเรื่องปุ๋ย หากในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมีซึ่งมีราคาแพงและมีผลกระทบต่อสภาพและคุณภาพของดินในระยะยาว และทรงแนะนำเกษตรกรในเรื่องการผลิตก๊าซชีวภาพ ซึ่งมีผลดีทั้งในด้านเชื้อเพลิงและปุ๋ย
การค้นคว้าทดลองด้านการเกษตรที่มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและปัจจัยด้านการเกษตรที่มีอยู่ในประเทศ นำมาใช้อย่างประหยัดและให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้น จะเห็นได้จากโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดำเนินการค้นคว้าทดลองโครงการต่าง ๆ เป็นการส่วนพระองค์มาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2505 แต่ละโค
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Current Study Centres The results were successful in many aspects of the various crops in different areas of animal husbandry, fisheries, etc., have been demonstrated in nature. "A living museum" that these methods are simple methods farmers can bring to the knowledge of the occupation, so all of these people can learn the Study Centres. Near the house fully Or would like to attend the training courses as well as office ORDPB and Study Centres. Ready to serve with all of you in order to have the knowledge of the Centre. Widely utilized As the diplomatic mission of the Lord. "King developers great"
that farmers are able to cultivate a more productive and self-supporting it. There is a great need to have knowledge in farming. His Majesty gave great importance to the promotion of knowledge about farming as a main course and modern agricultural technology. This helps Rat appears to have the ability to increase production, so the knowledge of soils. Timber treatment to hydrate the soil. As well as crops suitable for fishing or anything related to the occupation of the local people. It is supposed to encourage farmers with knowledge, whereby the King, His Majesty stressed the need to have. "An example of a successful" knowledge of farming as a main course. As well as the use of modern agricultural technology to farmers in a way that is easily understood. And can be put to practical reality. Therefore, His Majesty to establish. "Research and Development Centre" in all regions. For a center of education and research in various fields especially in developing regions, particularly local. And the embodiment of the various agencies of the state are involved with all aspects of development have come together to help the people in the farming system and the
Centre for Development Studies of the center. The study was carried out of the area as well as the environment and development issues. And the development and use of appropriate technologies. Environmental compliance in specific areas And in accordance with the occupation of the people in that area were the result of this research has led to the release to people with simple practices. People can follow them. By providing a demonstration and training in various forms, said that the Centre for Development Studies, a project due to the initiative is directly related to the development of farming so that local people are able to develop a farm of their own. to be effective in increasing productivity so much that can be self-sufficient. Long-term
Research and Development Centre currently has six distribution centers in the region are as follows:
1. Centre for Development Studies he Hin Sorn Royal. Chachoengsao Discovery Experiments and demonstrations on the development of the people who do not have an abundance. The main purpose of optimizing the production of many plants
2. Huai Sai Royal Development Study Center due to the initiative. Phetchaburi Province The study ways and means to improve the rehabilitation of degraded forest. By finding ways to provide farmers with the planting. Improve and preserve the forest, along with income and benefits from forests with
three. Khaohinsorn Royal Development Study Center due to the initiative. Chanthaburi Conducting studies and research to improve the environment and coastal fisheries. For farmers to increase productivity Which will be self-supporting
4. RDSC Puparn to the initiative. Sakon nakonn Conducted research on the agricultural environment of the Northeast, with emphasis on improving the soil. Precipitation forest development through irrigation and crop economy. The effect of increasing the income of farmers
5. Huai Hong Krai Royal Development Study Center, due to the initiative. Chiangmai Province Conducted research on the appropriate form of development, watershed areas. For economic benefits Including the development of self-reliant farmers without destroying the natural environment
6. RDSC Kul due to the initiative. Narathiwat Conduct peat soils are widespread in the South. It can be used in agriculture as much as possible
in the development of efficient agricultural production there. His Majesty stressed the experiments. Research and plant species that are locally appropriate. Both crops such as rubber, etc. sericulture crops to improve soil and plant. As well as studies on insect pest or animal species that are appropriate to suggest that farmers put into action. The King also stressed that the use of nature as much as possible. This reduces the cost of farmers. He also encouraged the use of cattle and buffalo farming is a labor of farmers over the use of machinery. Crop rotation, especially legumes. This reduces the cost of fertilizer. If in case the need for chemical fertilizers which are expensive and have an impact on the climate and soil quality in the long term. He advised the farmers on biogas. Which is good for both the fuel and fertilizers
to agricultural research focused on the use of natural resources and agricultural inputs available in the country. Used sparingly and make the most of it. It can be seen from the Royal Chitralada projects which His Majesty performed as part of his research projects since the year 2505, each cow.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: