1.ที่มาและความสำคัญปัจจุบันแนวโน้มในประเทศไทยประชากรทั้งหมดต่อผู้สูงอา การแปล - 1.ที่มาและความสำคัญปัจจุบันแนวโน้มในประเทศไทยประชากรทั้งหมดต่อผู้สูงอา อังกฤษ วิธีการพูด

1.ที่มาและความสำคัญปัจจุบันแนวโน้มใ

1.ที่มาและความสำคัญ
ปัจจุบันแนวโน้มในประเทศไทยประชากรทั้งหมดต่อผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากข้อมูลสถิติประชากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและความมั่นคงของมนุษย์ (2556) พบว่าประเทศไทยได้เริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 โดยระยะเวลาที่สัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 14 ในระยะเวลาเพิ่ม 30 ปี ส่งผลให้สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของไทยเพิ่มจากร้อยละ 4.8 ในปี พ.ศ. 2498 ร้อยละ 5.6 ในปี พ.ศ. 2528 ร้อยละ 7.6 ในปี พ.ศ. 2538 ร้อยละ 9.3 ในปี พ.ศ. 2543 ร้อยละ 13.18 ในปี พ.ศ. 2553 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.9 ในปี พ.ศ. 2557 ซึ่งตามเกณฑ์ขององค์การสหประชาชาติได้กำหนดว่าสังคมใดที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 20 หรืออายุ 65 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ ถือว่าสังคมนั้นอยู่ในระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ และคาดประมาณไว้ว่าประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2570 โดยประชากรหญิงจะมีอายุขัยเฉลี่ยมากกว่าประชากรชาย 4.5 ปี ในส่วนของผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปี พ.ศ. 2537 มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มร้อยละ 5.9 เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 ในปี พ.ศ. 2545 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 ในปี พ.ศ. 2550
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. origin and importance.ปัจจุบันแนวโน้มในประเทศไทยประชากรทั้งหมดต่อผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากข้อมูลสถิติประชากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและความมั่นคงของมนุษย์ (2556) พบว่าประเทศไทยได้เริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 โดยระยะเวลาที่สัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 14 ในระยะเวลาเพิ่ม 30 ปี ส่งผลให้สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของไทยเพิ่มจากร้อยละ 4.8 ในปี พ.ศ. 2498 ร้อยละ 5.6 ในปี พ.ศ. 2528 ร้อยละ 7.6 ในปี พ.ศ. 2538 ร้อยละ 9.3 ในปี พ.ศ. 2543 ร้อยละ 13.18 ในปี พ.ศ. 2553 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.9 ในปี พ.ศ. 2557 ซึ่งตามเกณฑ์ขององค์การสหประชาชาติได้กำหนดว่าสังคมใดที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 20 หรืออายุ 65 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ ถือว่าสังคมนั้นอยู่ในระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ และคาดประมาณไว้ว่าประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2570 โดยประชากรหญิงจะมีอายุขัยเฉลี่ยมากกว่าประชากรชาย 4.5 ปี ในส่วนของผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปี พ.ศ. 2537 มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มร้อยละ 5.9 เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 ในปี พ.ศ. 2545 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 ในปี พ.ศ. 2550
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1. The importance and
current trends in the elderly population is increasing rapidly. Demographic data from the Center for Information Technology and Human Security (2556) found that Thailand has begun to enter the aging society (Aging society) since 2547 by the time the proportion of the elderly population aged 60 years. to increase from 14 percent to 7 percent in the period of 30 years, the proportion of the elderly population of Thailand increased from 4.8 percent in 2498, 5.6 percent in 2528 hundred. 7.6 percent in 2538 to 9.3 percent in the year 2543 and 13.18 percent in the year 2553 and an increase of 15.9 per cent in 2557, which according to the United Nations has determined that. Any society where the population aged 60 and over account for more than 65 years of age or 20 per cent up to 10 per cent of the total population. In a society that treats aging society completely. And estimates that the United States is stepping into the aging society is completely in the year 2570 by female population will have an average life expectancy of 4.5 years over the male population of the elderly in the Northeast in the year. Fri. . 2537 amounted aging population, increased 5.9 percent to 8.6 percent in 2545 and 10.7 percent in the year 2550.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1. Origin and significance
.The current trend in the total population for the elderly is increasing rapidly. From the demographic information of the center for information technology and human security (2556) found that ประเทศไทยได้ entering the aging society. (Aging Society).B.Professor 2547 by the time that the proportion of elderly population aged 60 years billion 7 cent 14 period increase 30 years. Gain of elderly population increased from 4.8% in 2002. 2498 5.6% in 2002.2528 percent 7.6 the 2538 percent 9.3 the 2543 13.18% in 2002. 2553 percent increase from the 15.9 in 2002.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: