Yanthat sana at 1 (almost one should know and do. That is 1): suffering is a condition or state that occurs with a hard, durable, and is frustrating. The suffering condition occurs from thukokwetna harmed them as tones of life in recognition of their thukkhoriyasat, sparśa arising from that to happen, then he surely has an thukokwetna with it. It is one of the natural unhappiness plain to occur, there must be, must be a plain. Thukkhoriyasat is the type of suffering must occur, actual experience as simple as possible to all its extension. Do not omit anything to anyone, all of "the birth of 1 to 1, 1 death, 1 hurt. What's not in it 1 The berth with an unwanted love 1 The sharply separated from what is love 1 both of these brief distressed Khan 5 distressed ", these are the thukkhoriyasat therefore, he said, habitually as a manifold. If analytical reflection can be seen that this suffering is 7. 1. the cause of suffering, but the occurrence of such an occurrence is suffering accordingly to drill up to 9 months of pregnancy is in the khu, intuition (well-with knowledge and understanding, but being born), such as recognition, in touch-hunger awareness, perception of pain's, as well as when there is emerging, and then there are also suffering, and I'm going to exercise our natural or by saṅkhāra (r-t-nawa) Anxious to maintain the resulting consequences as well. It's time to feed the hungry, appetite, eating, drinking, looking for khwai khuai arrive, they want him to excrete the body, they must take care of dental care to maintain the payout is not rotten, decayed ruins. Etc. With the subsequent suffering occupational as well as all the remaining 6 thukkhoriyasat at birth, subsequent to a regular fair by (natural) He said it was "distressed and its decay to occur. 2. ageing and distress caused but a very old. An old man A recession anxiety posed but its contents must occur as normal. 3. The resulting distress, pain, illness, pain, fever. Pain resulting from impact with the sparśa world. Anxiety and fever illnesses in a flurry to the dogmatic. Its must occur as normal and the punishment of the distressed body made by Justice saṅkhāra or nature (r-t-nawa) 4. death, suffering and death in worries about death, fear of death. Anxiety in the present world chart after its death must occur as normal. 5. What's not in it, but the resulting distress do not fulfill. Its not jealous despite hopes fulfilled wishes "is the most common. Their hopes fulfilled Its not jealous he surely must occur at regular and recurring. That's the most distressed to have associations with the ultimate sleeper. 6. The berth with what is not love, but the resulting distress faced with what he doesn't like is not. What is not desirable is surely occurring in life? Even if you are faced with something like that is possible, but commonplace? The encounter with what he doesn't like is not. What is happening to share its must occur as normal? 7. The sharply separated from the beloved distress caused by sharply separated from Alzheimer's to fire disturbances or loss of beloved things in person, as well as the object of the beloved, love, its cherished must occur as normal. โยนิโสมนสิการโดยแยบคายจะพบว่า ทุกข์ทั้ง ๗ นี้ครอบคลุมสรรพทุกข์ทุกอย่างประดามีในโลกนี้โดยบริบูรณ์ ครบถ้วนไม่บกพร่องแม้แต่น้อยหนึ่ง แต่ทุกข์ทั้งหลายทั้งปวงคือทั้งทุกขเวทนาและทุกขอริยสัจทั้ง ๗ นี้เป็นเหตุปัจจัยอันเป็นจริงและสำคัญยิ่ง และไม่สามารถหลบหนีได้ก็จริงอยู่ เพราะเป็นทุกข์โดยธรรมหรือธรรมชาติ หรือจะเรียกว่าทุกข์ธรรมชาติก็ได้ จึงเป็นเหตุปัจจัยสำคัญที่ยังคงต้องเกิด ต้องมี ต้องเป็นเช่นนั้นเอง ดังเช่น กายกระทบโผฏฐัพพะอย่างแรงย่อมเกิดทุกขเวทนาเป็นธรรมดาโดยธรรมหรือธรรมชาติแก่ทุกรูปนาม และเช่นกันเมื่ออายตนะคือจิตกระทบกับธรรมารมณ์ชนิดเป็นทุกข์ย่อมก่อให้เกิดทุกขเวทนาเป็นธรรมดา ส่วนทุกขอริยสัจนั้นทุกชีวิตย่อมต้องประสบพบกับทุกข์ทั้ง ๗ นี้ทุกบุคคล เขา เราเช่นกัน เมื่อโยนิโสมนสิการโดยแยบคายก็จะพบกับความเป็นจริงดังที่กล่าวมาทุกประการว่าเป็นสภาวธรรมหรือสภาวะทุกข์โดยธรรมหรือธรรมชาติ อันย่อมไม่มีผู้หนึ่งผู้ใดหลีกหนีพ้น แม้แต่พระบรมศาสดาและพระอริยะทุกท่านทุกพระองค์ก็จริงอยู่ และท้ายสุดพระองค์ท่านได้กล่าวสรุปลงเป็นหนึ่งเดียวเท่านั้นที่ครอบคลุมความทุกข์ทั้งปวงว่า โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เพราะธรรมชาติเดิมๆแท้ๆของทุกข์ทั้ง ๗ แม้มันจะเป็นทุกข์จริงๆอย่างหนึ่งโดยธรรมชาติเอง แต่ไม่เผาลนเร่าร้อนดังไฟนรกที่เผาอยู่ในหัวจิตหัวใจอย่างยาวนาน ทุกข์ทั้ง ๗ เหล่านี้ยังต้องมีเหตุปัจจัยอื่นๆมาร่วมด้วยจึงจะยังให้เกิดอุปาทานทุกข์อันแสนเผาลนเร่าร้อนดังกล่าวขึ้นได้ และความทุกข์ที่พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนให้ดับไปนั้นก็คือ อุปาทานทุกข์ เหล่านี้นั่นเอง จึงไม่ใช่การปฏิบัติเพื่อดับทุกข์ชนิดทุกขเวทนาอันเป็นทุกข์ธรรมขาติของชีวิตในการรับรู้การกระทบ(ผัสสะ)ในสิ่งต่างๆของชีวิตแต่อย่างใด ส่วนอุปาทานทุกข์อันแสนเร่าร้อนเผาลนนั้น ก็จำต้องมีเหตุปัจจัยอื่นร่วมอีกด้วย จึงจะเกิดขึ้นได้ อันเป็นไปตามวงจรของการเกิดขึ้นแห่งทุกข์ปฏิจจสมุปบาท อันคือ ตัณหา, อุปาทาน.....นั่นเอง จึงยังผลให้เกิดอุปาทานขันธ์ ๕ อันเป็นทุกข์ขึ้นได้ กล่าวคือ ความทุกข์ดังกล่าวที่เผาลนต้องประกอบด้วย ตัณหา ---> อุปาทาน จึงจะบังเกิดแก่จิตหรือใจจนเร่าร้อนเผาลน และอุปาทานขันธ์ ๕ อันเป็นทุกข์เหล่านี้สามารถดับหรือจางคลายลงไปได้ด้วยธรรมอันวิเศษของพระองค์ท่าน, จึงควรศึกษาพิจารณาขันธ์ ๕ โดยเฉพาะเวทนา และตัณหา,อุปาทาน ตลอดจนอุปาทานทุกข์อันเกิดขึ้นและเป็นไปในชรา ให้เข้าใจจากกระบวนธรรมในวงจรปฏิจจสมุปบาท มิฉนั้นจักสับสนระหว่างทุกขเวทนาอันเป็นธรรมขาติ กับเวทนูปาทานขันธ์(เวทนาที่ประกอบด้วยอุปาทาน)อันเป็นอุปาทานทุกข์ในชรา เมื่อสับสนแล้วทําให้ไม่ก้าวหน้าในธรรม เพราะมัวแต่สาระวนวนเวียนเพียรพยายามดับขันธ์ ๕ บ้าง ดับทุกขเวทนาบ้าง หรือพยายามแม้ดับสังขารความค
การแปล กรุณารอสักครู่..
