เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) (กรีก: Κωνσταντίνος Γεράκης, กอ การแปล - เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) (กรีก: Κωνσταντίνος Γεράκης, กอ อังกฤษ วิธีการพูด

เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลค

เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) (กรีก: Κωνσταντίνος Γεράκης, กอนสตันตีโนส เยราจิส; อังกฤษ: Constantine Phaulkon) เป็นนักผจญภัยชาวกรีก ผู้กลายมาเป็นสมุหนายกในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา

นอกจากภาษากรีกซึ่งเป็นภาษาแม่แล้ว ฟอลคอนยังสามารถพูดภาษาต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาโปรตุเกส และภาษามลายู



เนื้อหา [ซ่อน]
1 วัยเด็ก
2 ชีวิตในอยุธยา
3 บั้นปลายชีวิต
4 อ้างอิง
5 แหล่งข้อมูลอื่น


วัยเด็ก[แก้]

ฟอลคอนเกิดที่แคว้นเซฟาโลเนีย (ประเทศกรีซ) เมื่อ พ.ศ. 2190 โดยมีเชื้อสายของชาวกรีกและเวนิส ฟอลคอนเข้าทำงานให้กับบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ

พ.ศ. 2205 ฟอลคอนออกจากบ้าน และเดินเรือสินค้าไปค้าขายยังแดนต่าง ๆ

ชีวิตในอยุธยา[แก้]

พ.ศ. 2218 เดินทางมายังอยุธยาในฐานะพ่อค้า เนื่องจากฟอลคอนมีความสามารถพิเศษในการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศอย่างง่ายดาย ฟอลคอนจึงเรียนรู้การใช้ภาษาไทยอย่างคล่องแคล่วในเวลาไม่กี่ปีและเข้ารับราชการในราชสำนักสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในตำแหน่งล่าม นับเป็นชาวตะวันตกคนแรกที่เข้ามารับราชการในสมัยอยุธยา เป็นตัวกลางการค้าระหว่างอยุธยากับฝรั่งเศส ฟอลคอนได้กลายมาเป็นสมุหเสนาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยาในเวลาอันรวดเร็ว

พ.ศ. 2225 ฟอลคอนแต่งงานกับดอญา มารี กีมาร์ (ท้าวทองกีบม้า) ซึ่งภายหลัง เป็นผู้ประดิษฐ์ขนมไทยหลายอย่าง

ความใกล้ชิดระหว่างเจ้าพระยาวิชเยนทร์และสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทำให้เกิดความริษยาขึ้นในหมู่ราชนิกุล ซึ่งส่งให้เกิดผลเสียต่อตัวเจ้าพระยาวิชเยนทร์เองในเวลาต่อมา เมื่อสมเด็จพระนารายณ์ทรงพระประชวรหนักใกล้สวรรคต ก็มีข่าวลือว่าเจ้าพระยาวิชเยนทร์ต้องการใช้องค์รัชทายาทเป็นหุ่นเชิดและเข้ามาเป็นผู้ปกครองกรุงศรีอยุธยาเสียเอง ซึ่งแม้เหตุดังกล่าวจะมีความเป็นไปได้น้อย แต่ก็เป็นข้ออ้างให้พระเพทราชาซึ่งเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ที่ไม่พอใจกับนโยบายด้านต่างประเทศที่ส่งผลให้มีชาวต่างชาติมาอยู่ในกรุงศรีอยุธยามากมาย วางแผนให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จไปประทับที่พระนารายณ์ราชนิเวศน์ในลพบุรี และสมเด็จพระนารายณ์มหาราชก็ได้ไว้ใจมอบอำนาจการสำเร็จราชการแผ่นดินให้พระเพทราชาใน พ.ศ. 2231

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Chao phya EPL chaye road (Constantine Falcon) (Greek: Κωνσταντίνος Γεράκης, nottan Raja JI ye nose hit Krohn; English: Constantine Phaulkon) as Greeks adventurer who became Master of the Prime in the reign of King Narai, Sri ayudhya.In addition to the Greek language, as are mutually complementary. Falcon can also speak a variety of languages, include Thailand, English, France, Portugal and the Malay language.Contents [Hide] 1 childhood.2 life in Ayutthaya.3 end of life4 references.5. other information sources[Edit]Falcon born in Galicia (Greece) Cephalonia in 2190 by natives of the Greeks and Venice. Falcon into working for the British East India Company.พ.ศ. 2205 ฟอลคอนออกจากบ้าน และเดินเรือสินค้าไปค้าขายยังแดนต่าง ๆชีวิตในอยุธยา[แก้]พ.ศ. 2218 เดินทางมายังอยุธยาในฐานะพ่อค้า เนื่องจากฟอลคอนมีความสามารถพิเศษในการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศอย่างง่ายดาย ฟอลคอนจึงเรียนรู้การใช้ภาษาไทยอย่างคล่องแคล่วในเวลาไม่กี่ปีและเข้ารับราชการในราชสำนักสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในตำแหน่งล่าม นับเป็นชาวตะวันตกคนแรกที่เข้ามารับราชการในสมัยอยุธยา เป็นตัวกลางการค้าระหว่างอยุธยากับฝรั่งเศส ฟอลคอนได้กลายมาเป็นสมุหเสนาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยาในเวลาอันรวดเร็วพ.ศ. 2225 ฟอลคอนแต่งงานกับดอญา มารี กีมาร์ (ท้าวทองกีบม้า) ซึ่งภายหลัง เป็นผู้ประดิษฐ์ขนมไทยหลายอย่างความใกล้ชิดระหว่างเจ้าพระยาวิชเยนทร์และสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทำให้เกิดความริษยาขึ้นในหมู่ราชนิกุล ซึ่งส่งให้เกิดผลเสียต่อตัวเจ้าพระยาวิชเยนทร์เองในเวลาต่อมา เมื่อสมเด็จพระนารายณ์ทรงพระประชวรหนักใกล้สวรรคต ก็มีข่าวลือว่าเจ้าพระยาวิชเยนทร์ต้องการใช้องค์รัชทายาทเป็นหุ่นเชิดและเข้ามาเป็นผู้ปกครองกรุงศรีอยุธยาเสียเอง ซึ่งแม้เหตุดังกล่าวจะมีความเป็นไปได้น้อย แต่ก็เป็นข้ออ้างให้พระเพทราชาซึ่งเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ที่ไม่พอใจกับนโยบายด้านต่างประเทศที่ส่งผลให้มีชาวต่างชาติมาอยู่ในกรุงศรีอยุธยามากมาย วางแผนให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จไปประทับที่พระนารายณ์ราชนิเวศน์ในลพบุรี และสมเด็จพระนารายณ์มหาราชก็ได้ไว้ใจมอบอำนาจการสำเร็จราชการแผ่นดินให้พระเพทราชาใน พ.ศ. 2231
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (Constantine, Falcon) (Greek: Κ conductivity ν σ τ α ν τ ί ν ο ς Γ. ε ρ ά κ η ς, gun stun beat as ye Raji (; English: Constantine Phaulkon). As the Greek. He became chancellor in the reign of King Narai the great of Ayutthaya.In addition to Greek, which is the mother tongue. Falcon can also speak different languages, including Arabic, English, French, Portuguese and Malay.Content [hide].1 childhood.2 life in Ayutthaya.3 the rest of my life4 reference.5 other sources.Childhood [solve].Falcon was born of cephalonia (Greece) on the 2190 by descent of the Greeks and Venice Falcon joined to the British East India Company.The 2205 Falcon out of the house. Shipping goods to trade and also Dan.Life in the Ayutthaya [solve].The 2218 travel to Ayutthaya as a merchant. The Falcon is a talent in learning a foreign language so easily. Falcon is learn to use English fluently in a few years time, and served in the ราชสำนักสมเด็จพระนารายณ์ Maharaj in the interpreter. The first Western who served in the Ayutthaya period. As the center of trade between Ayutthaya and France. Falcon has become a collective minister in blending of Ayutthaya in a short time.The 2225 Falcon married ดอญ. Marie guimar (gas constant) which subsequently invented many Thai dessertThe closeness between เจ้าพระยาวิชเยนทร์ Narai cause and jealousy among the member of the royal family. Effect of เจ้าพระยาวิชเยนทร์ which sends in a later time. When he was in a coma Narayana passed away, It was rumored that เจ้าพระยาวิชเยนทร์ wants to use the crown prince is a puppet and the ruler of Ayutthaya was broken. Though such events have the possibility. But it is an excuse to พระเพทราชา which is big officials who were dissatisfied with the policy of abroad that result in a foreigner in Ayutthaya. Planning for Narai went and sat Valpara í so ในลพ.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: