(1) ต้นทุนการผลิตต่อไร่สูง แต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำปัญหาด้านต้นทุนการผลิตและ การแปล - (1) ต้นทุนการผลิตต่อไร่สูง แต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำปัญหาด้านต้นทุนการผลิตและ อังกฤษ วิธีการพูด

(1) ต้นทุนการผลิตต่อไร่สูง แต่ผลผลิ

(1) ต้นทุนการผลิตต่อไร่สูง แต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ
ปัญหาด้านต้นทุนการผลิตและผลผลิตต่อไร่ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อศักยภาพในการส่งออกข้าวของไทยในตลาดอาเซียน เพราะเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตต่อไร่ของไทยกับกวียดนาม ข้อมูลจากสมาคมชาวนาไทย ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2552 ราคาต้นทุนการผลิตต่อไร่ของไทยอยู่ที่ 5,950 บาท

ในขณะที่เวียดนามมีต้นทุนการผลิตต่อไร่ใกล้เคียงกับของไทย ส่วนต้นทุนการผลิตของพม่านั้นต่ำกว่าของไทยค่อนข้างมาก โดยการผลิตข้าวที่ใช้แรงคนต้นทุนการผลิตจะอยู่ที่ 2,000 บาทต่อไร่ แต่ถ้ามีเครื่องจักรเข้ามาช่วยต้นทุนการผลิตจะอยู่ที่ 3,000 บาทต่อไร่ ซึ่งผลผลิตต่อไร่สูงกว่าไทยค่อนข้างมาก

โดยเมื่อพิจารณาข้อมูลช่วงปี 2549/50 - 2552/53 จะเห็นว่าเวียดนามมีผลผลิตต่อไร่สูงถึง 782.4 - 796.0 กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะที่ไทยมีผลผลิตต่อไร่เพียง 441.6 - 452.8 กิโลกรัมต่อไร่

(2) ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจำกัด
จากรายงานข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตรของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2551 พบว่า ในปัจจุบันมีระบบชลประทานอยูในพื้นที่เพาะปลูกข้าวเพียงร้อยละ 32 ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมดของประเทศ ส่วนอีกร้อยละ 68 ต้องพึ่งพาน้ำฝนเป็นหลัก ซึ่งพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่มีระบบชลประทานส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของไทย ในขณะที่เวียดนามมีระบบชลประทานกระจายอยู่ในพื้นที่เพาะปลูกมากถึงร้อยละ 50 ของพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั่วประเทศ ทำให้เกษตรกรที่อยู่ในเขตชลประทานสามารถปลูกข้าวได้ 2-3 ครั้งต่อปี

(3) งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตข้าวน้อยเกินไป
ในปัจจุบันรัฐบาลไทยไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าที่ควรกับการวิจัยและพัฒนา เพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าว รวมไปถึงเทคโนโลยีในการเพาะปลูก และการพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เห็นได้จากการกำหนดนโยบายด้านราคาข้าวมากกว่าที่จะสนับสนุนด้านการพัฒนาและการวิจัย โดยงบประมาณที่ได้มาสำหรับการพัฒนาและวิจัยข้าวของไทย อยู่ในหลักร้อยล้านบาทต่อปีเท่านั้น ในขณะที่ประเทศคู่แข่งที่สำคัญอย่างเวียดนาม รัฐบาลเวียดนามให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก โดยทุ่มงบประมาณหลายพันล้านบาทต่อปี ในการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงการใช้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรในการเพิ่มปริมาณการผลิต สนับสนุนการขยายพันธุ์ข้าวหใม่ๆ ที่ให้ผลผลิตสูงและใช้เวลาสั้นลงในการเพาะปลูก อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้มีศักยภาพมากขึ้น เพื่อให้เอื้อเฟื้อต่อการปลูกข้าวเพื่อการส่งออกเป็นการเฉพาะ จากปัจจัยดังกล่าวทำให้เวียดนามสามารถพัฒนาด้านการผลิตข้าวได้อย่างรวดเร็ว

(4) ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบราคาส่งออกข้าวของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ที่สามารถผลิตและส่งออกข้าวทั้งพม่า ลาว กัมพูชา และเวียตนาม ราคาข้าวของไทยถือว่าอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับเวียตนาม ซึ่งเป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก จะเห็นว่าในราคาส่งออกข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยค่อนข้างมาก เห็นได้จากราคาข้าวสารชนิด 5% ในปี 2550 ราคาข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยอยู่เพียง 20 เหรียญสหรัฐฯต่อตัน แต่ในปี 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) ราคาส่งออกข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยถึง 169 เหรียญสหรัฐต่อตัน ซึ่งราคาข้าวของเวียตนามที่ต่ำกว่าไทยค่อนข้างมากถือว่าเป็นจุดแข็งและจุดขายที่ทำให้เวียตนามสามารถแย่งตลาดข้าวในหลายประเทศทั้งในและนอกอาเซียนจากไทย

(5 ) ขาดการประชาสัมพันธ์ในการสร้างตราสินค้าข้าวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
รัฐบาลยังไม่มีการประชาสัมพันธ์ในสินค้าข้าวไทยและผลิตภัณฑ์ที่ทำจากข้าว ในประเทศอาเซียนมากนัก ถึงแม้ว่าที่ผ่านมารัฐบาลจะมีการจัดโรดโชว์ข้าวไทยในประเทศต่างๆ ทั้งในอาเซียนและนอกอาเซียนบ้าง แต่ก็ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้ข้าวไทยเป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้บริโภคในต่างประเทศ ที่สำคัญยังขาดยุทธศาสตร์เชิงรุกและงบประมาณในการสนับสนุน

(6) ระบบและต้นทุนขนส่ง
ต้นทุนการขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมือ่เทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะเวียตนาม เนื่องจากโดยโครงสร้างการทำการเกษตร (ปลูกข้าว) ของไทยส่วนใหญ่ใช้การขนส่งทางถนนเป็นหลัก รองลงมาเป็นทางเรือและทางรถไฟ เพราะไทยมีระบบการส่งทางถนนที่ดี ทำให้สะดวกและรวดเร็วแต่ต้นทุนจะสูง ซึ่งเมื่อเปรยบเทียบกับเวียตนาม โดยโครงสร้างของพื้นที่ในบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะพึ่งระบบทางน้ำเป็นหลัก ทำให้มีต้นทุนการขนส่งที่ถูกกว่าไทย แต่จะเกิดความล่าช้าและไม่ค่อยสะดวก โดยเฉพาะการรวบรวมผลผลิตจำนวนมากๆในคราวเดียวกัน ทั้งนี้รัฐบาลเวียตนามได้ให้ความสำคัญกับการสร้างท่าเรือไว้สำหรับรองรับการขนส่งข้าวเฉพาะ โดยได้สร้างท่าเรือและจัดระบบขนส่งทางน้ำไว้ในพื้นที่ๆมีการเพาะปลูกข้าวที่สำคัญของประเทศเพื่อรองรับการขนส่งข้าวภายในประเทศและขนส่งต่อไปยังต่างประเทศ ทำให้ต้นทุนการขนส่งของเวียตนามต่ำกว่าของไทยและประเทศเพื่อนบ้าน

(7) ไม่มีนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าวที่ชัดเจนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ในขณะที่สินค้าข้าวของไทยต้องลดภาษีเป็น 0 ในกรอบของ AFTA และกรอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในวันที่ 1 มกราคม 2553 ในขณะที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนไม่ได้ลดภาษี แต่จัดข้าวอยู่ในรายการสินค้าอ่อนไหวที่่ต้องดูแลเป็นพิเศษ ซึ่งรัฐยังไม่มีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ของประเทศที่ชัดเจนในการกำหนดทิศทางของข้าวไทย ทำให้การดำพเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านการวิจัยและพัฒนา รวมไปถึงการส่งเสริมของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนขาดประสิทธิภาพ และไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
(1) the production cost per unit of output but high Ranch, low acres.The cost of production and yield per Rai is an issue that impacts directly on the potential of Thai rice exports in the ASEAN market. Because when you compare the cost per Rai Thai Party with a poet yotnam data from the Association of Thai farmers as of May 1, 2009, the cost price per Rai of Thai 5950 is the Thai baht.In Viet Nam, while the cost of production per farm close to Thai's. Part of the cost of production of lower Burma, Thai is quite a lot. By rice production that using force people, production costs are located at 2000 baht per Rai, but if there is a machine to help the production cost is located at 3000 baht per Rai which yield per Rai a relatively higher than most Thai.By considering a range of year 2549 (2006)/50-53/2552 (2009) can see that Viet Nam has the highest yield per RAI to 782.4-796.0 kg per farm, while Thai output per Rai has just 441.6-452.8 kg Ranch.(2) irrigation system in cultivation is limited.From the report on the basis of the agricultural economic Office agricultural economy year 2551 (2008) found that the current system is in the North Central area are u just 32 percent of rice planting area of rice planting all of the country. The other 68 percent want to rely on rain water as a main rice growing area, where there is no irrigation system, mostly in Northeastern and northern Thai. While Viet Nam have irrigation systems in areas up to 50 per cent in the cultivation of rice planting areas around the country, farmers in irrigation zones can grow rice and have 2-3 times per year.(3) research and development budget on rice production is too small.ในปัจจุบันรัฐบาลไทยไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าที่ควรกับการวิจัยและพัฒนา เพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าว รวมไปถึงเทคโนโลยีในการเพาะปลูก และการพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เห็นได้จากการกำหนดนโยบายด้านราคาข้าวมากกว่าที่จะสนับสนุนด้านการพัฒนาและการวิจัย โดยงบประมาณที่ได้มาสำหรับการพัฒนาและวิจัยข้าวของไทย อยู่ในหลักร้อยล้านบาทต่อปีเท่านั้น ในขณะที่ประเทศคู่แข่งที่สำคัญอย่างเวียดนาม รัฐบาลเวียดนามให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก โดยทุ่มงบประมาณหลายพันล้านบาทต่อปี ในการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงการใช้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรในการเพิ่มปริมาณการผลิต สนับสนุนการขยายพันธุ์ข้าวหใม่ๆ ที่ให้ผลผลิตสูงและใช้เวลาสั้นลงในการเพาะปลูก อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้มีศักยภาพมากขึ้น เพื่อให้เอื้อเฟื้อต่อการปลูกข้าวเพื่อการส่งออกเป็นการเฉพาะ จากปัจจัยดังกล่าวทำให้เวียดนามสามารถพัฒนาด้านการผลิตข้าวได้อย่างรวดเร็ว(4) the Thai rice export prices higher than neighboring countries.เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบราคาส่งออกข้าวของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ที่สามารถผลิตและส่งออกข้าวทั้งพม่า ลาว กัมพูชา และเวียตนาม ราคาข้าวของไทยถือว่าอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับเวียตนาม ซึ่งเป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก จะเห็นว่าในราคาส่งออกข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยค่อนข้างมาก เห็นได้จากราคาข้าวสารชนิด 5% ในปี 2550 ราคาข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยอยู่เพียง 20 เหรียญสหรัฐฯต่อตัน แต่ในปี 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) ราคาส่งออกข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยถึง 169 เหรียญสหรัฐต่อตัน ซึ่งราคาข้าวของเวียตนามที่ต่ำกว่าไทยค่อนข้างมากถือว่าเป็นจุดแข็งและจุดขายที่ทำให้เวียตนามสามารถแย่งตลาดข้าวในหลายประเทศทั้งในและนอกอาเซียนจากไทย(5) lack of PR in branding Thai rice on the world market and ASEAN markets.The Government also has no public relations or in Thai rice and products made from rice. In the ASEAN countries too much. Although in the past the Government has arranged Roadshow Thai rice in various countries both in and outside the ASEAN Association of Southeast Asian Nations, but it is still not enough to make the Thai rice is known as consumer groups abroad. The lack of proactive and strategic and budget support.(6) the system and transport costs.ต้นทุนการขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมือ่เทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะเวียตนาม เนื่องจากโดยโครงสร้างการทำการเกษตร (ปลูกข้าว) ของไทยส่วนใหญ่ใช้การขนส่งทางถนนเป็นหลัก รองลงมาเป็นทางเรือและทางรถไฟ เพราะไทยมีระบบการส่งทางถนนที่ดี ทำให้สะดวกและรวดเร็วแต่ต้นทุนจะสูง ซึ่งเมื่อเปรยบเทียบกับเวียตนาม โดยโครงสร้างของพื้นที่ในบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะพึ่งระบบทางน้ำเป็นหลัก ทำให้มีต้นทุนการขนส่งที่ถูกกว่าไทย แต่จะเกิดความล่าช้าและไม่ค่อยสะดวก โดยเฉพาะการรวบรวมผลผลิตจำนวนมากๆในคราวเดียวกัน ทั้งนี้รัฐบาลเวียตนามได้ให้ความสำคัญกับการสร้างท่าเรือไว้สำหรับรองรับการขนส่งข้าวเฉพาะ โดยได้สร้างท่าเรือและจัดระบบขนส่งทางน้ำไว้ในพื้นที่ๆมีการเพาะปลูกข้าวที่สำคัญของประเทศเพื่อรองรับการขนส่งข้าวภายในประเทศและขนส่งต่อไปยังต่างประเทศ ทำให้ต้นทุนการขนส่งของเวียตนามต่ำกว่าของไทยและประเทศเพื่อนบ้าน(7) is not a policy, and a clear strategy of rice under the ASEAN Economic Community.While Thai rice to reduce taxes as a 0 in the frame of AFTA and the framework of the ASEAN Economic Community (AEC) on January 1, 2010 while other countries in the Association of Southeast Asian Nations did not reduce taxes, but rice held in sensitive items that require special care. Which State is not yet a policy or strategy of the country clearly to define the direction of Thai rice. Make black phanoen of the relevant authorities, both in the research and development, including the promotion of both the public and private sectors lack efficiency and does not go in the same direction.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
(1) ต้นทุนการผลิตต่อไร่สูง แต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ
ปัญหาด้านต้นทุนการผลิตและผลผลิตต่อไร่ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อศักยภาพในการส่งออกข้าวของไทยในตลาดอาเซียน เพราะเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตต่อไร่ของไทยกับกวียดนาม ข้อมูลจากสมาคมชาวนาไทย ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2552 ราคาต้นทุนการผลิตต่อไร่ของไทยอยู่ที่ 5,950 บาท

ในขณะที่เวียดนามมีต้นทุนการผลิตต่อไร่ใกล้เคียงกับของไทย ส่วนต้นทุนการผลิตของพม่านั้นต่ำกว่าของไทยค่อนข้างมาก โดยการผลิตข้าวที่ใช้แรงคนต้นทุนการผลิตจะอยู่ที่ 2,000 บาทต่อไร่ แต่ถ้ามีเครื่องจักรเข้ามาช่วยต้นทุนการผลิตจะอยู่ที่ 3,000 บาทต่อไร่ ซึ่งผลผลิตต่อไร่สูงกว่าไทยค่อนข้างมาก

โดยเมื่อพิจารณาข้อมูลช่วงปี 2549/50 - 2552/53 จะเห็นว่าเวียดนามมีผลผลิตต่อไร่สูงถึง 782.4 - 796.0 กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะที่ไทยมีผลผลิตต่อไร่เพียง 441.6 - 452.8 กิโลกรัมต่อไร่

(2) ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจำกัด
จากรายงานข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตรของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2551 พบว่า ในปัจจุบันมีระบบชลประทานอยูในพื้นที่เพาะปลูกข้าวเพียงร้อยละ 32 ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมดของประเทศ ส่วนอีกร้อยละ 68 ต้องพึ่งพาน้ำฝนเป็นหลัก ซึ่งพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่มีระบบชลประทานส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของไทย ในขณะที่เวียดนามมีระบบชลประทานกระจายอยู่ในพื้นที่เพาะปลูกมากถึงร้อยละ 50 ของพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั่วประเทศ ทำให้เกษตรกรที่อยู่ในเขตชลประทานสามารถปลูกข้าวได้ 2-3 ครั้งต่อปี

(3) งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตข้าวน้อยเกินไป
ในปัจจุบันรัฐบาลไทยไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าที่ควรกับการวิจัยและพัฒนา เพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าว รวมไปถึงเทคโนโลยีในการเพาะปลูก และการพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เห็นได้จากการกำหนดนโยบายด้านราคาข้าวมากกว่าที่จะสนับสนุนด้านการพัฒนาและการวิจัย โดยงบประมาณที่ได้มาสำหรับการพัฒนาและวิจัยข้าวของไทย อยู่ในหลักร้อยล้านบาทต่อปีเท่านั้น ในขณะที่ประเทศคู่แข่งที่สำคัญอย่างเวียดนาม รัฐบาลเวียดนามให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก โดยทุ่มงบประมาณหลายพันล้านบาทต่อปี ในการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงการใช้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกรในการเพิ่มปริมาณการผลิต สนับสนุนการขยายพันธุ์ข้าวหใม่ๆ ที่ให้ผลผลิตสูงและใช้เวลาสั้นลงในการเพาะปลูก อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้มีศักยภาพมากขึ้น เพื่อให้เอื้อเฟื้อต่อการปลูกข้าวเพื่อการส่งออกเป็นการเฉพาะ จากปัจจัยดังกล่าวทำให้เวียดนามสามารถพัฒนาด้านการผลิตข้าวได้อย่างรวดเร็ว

(4) ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบราคาส่งออกข้าวของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ที่สามารถผลิตและส่งออกข้าวทั้งพม่า ลาว กัมพูชา และเวียตนาม ราคาข้าวของไทยถือว่าอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับเวียตนาม ซึ่งเป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก จะเห็นว่าในราคาส่งออกข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยค่อนข้างมาก เห็นได้จากราคาข้าวสารชนิด 5% ในปี 2550 ราคาข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยอยู่เพียง 20 เหรียญสหรัฐฯต่อตัน แต่ในปี 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) ราคาส่งออกข้าวของเวียตนามต่ำกว่าไทยถึง 169 เหรียญสหรัฐต่อตัน ซึ่งราคาข้าวของเวียตนามที่ต่ำกว่าไทยค่อนข้างมากถือว่าเป็นจุดแข็งและจุดขายที่ทำให้เวียตนามสามารถแย่งตลาดข้าวในหลายประเทศทั้งในและนอกอาเซียนจากไทย

(5 ) ขาดการประชาสัมพันธ์ในการสร้างตราสินค้าข้าวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
รัฐบาลยังไม่มีการประชาสัมพันธ์ในสินค้าข้าวไทยและผลิตภัณฑ์ที่ทำจากข้าว ในประเทศอาเซียนมากนัก ถึงแม้ว่าที่ผ่านมารัฐบาลจะมีการจัดโรดโชว์ข้าวไทยในประเทศต่างๆ ทั้งในอาเซียนและนอกอาเซียนบ้าง แต่ก็ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้ข้าวไทยเป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้บริโภคในต่างประเทศ ที่สำคัญยังขาดยุทธศาสตร์เชิงรุกและงบประมาณในการสนับสนุน

(6) ระบบและต้นทุนขนส่ง
ต้นทุนการขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมือ่เทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะเวียตนาม เนื่องจากโดยโครงสร้างการทำการเกษตร (ปลูกข้าว) ของไทยส่วนใหญ่ใช้การขนส่งทางถนนเป็นหลัก รองลงมาเป็นทางเรือและทางรถไฟ เพราะไทยมีระบบการส่งทางถนนที่ดี ทำให้สะดวกและรวดเร็วแต่ต้นทุนจะสูง ซึ่งเมื่อเปรยบเทียบกับเวียตนาม โดยโครงสร้างของพื้นที่ในบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะพึ่งระบบทางน้ำเป็นหลัก ทำให้มีต้นทุนการขนส่งที่ถูกกว่าไทย แต่จะเกิดความล่าช้าและไม่ค่อยสะดวก โดยเฉพาะการรวบรวมผลผลิตจำนวนมากๆในคราวเดียวกัน ทั้งนี้รัฐบาลเวียตนามได้ให้ความสำคัญกับการสร้างท่าเรือไว้สำหรับรองรับการขนส่งข้าวเฉพาะ โดยได้สร้างท่าเรือและจัดระบบขนส่งทางน้ำไว้ในพื้นที่ๆมีการเพาะปลูกข้าวที่สำคัญของประเทศเพื่อรองรับการขนส่งข้าวภายในประเทศและขนส่งต่อไปยังต่างประเทศ ทำให้ต้นทุนการขนส่งของเวียตนามต่ำกว่าของไทยและประเทศเพื่อนบ้าน

(7) ไม่มีนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าวที่ชัดเจนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ในขณะที่สินค้าข้าวของไทยต้องลดภาษีเป็น 0 ในกรอบของ AFTA และกรอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในวันที่ 1 มกราคม 2553 ในขณะที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนไม่ได้ลดภาษี แต่จัดข้าวอยู่ในรายการสินค้าอ่อนไหวที่่ต้องดูแลเป็นพิเศษ ซึ่งรัฐยังไม่มีนโยบายหรือยุทธศาสตร์ของประเทศที่ชัดเจนในการกำหนดทิศทางของข้าวไทย ทำให้การดำพเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านการวิจัยและพัฒนา รวมไปถึงการส่งเสริมของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนขาดประสิทธิภาพ และไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
(1) production cost per acre but high yield low
.The cost of production and yield per acre. Is an issue that directly affect the potential in the export of rice in the ASEAN market. Because when comparing the cost per farm goods detailed information from poets name association of Thai Farmers at 1.2552 cost per farm exports, in 5950)

while Vietnam cost per farm close to the industry. The production cost of Myanmar is lower than in quite a lot. The rice production of manual production cost, is 2000 per farm. But if the machine to help the production cost will be 3, the 000 per farm. The yield was higher than in quite a lot of

by considering the data over the years 2549 / 50 - 2552 / 53 will see that Vietnam has high yield to 782.4 - 796.0 kg per hectare, while Thai effective yield only 441.6 - 452.8 upland

(2). Irrigation in farmland is limited!Report from basic information of agricultural economics of diverticulitis. Over the years 2551 found that current irrigation system in rice plantations were 32 of rice area of all the country. The 68.The rice area without irrigation systems are mostly in the northeastern and northern Thailand. While Vietnam irrigation system was distributed in the area to 50 percent of rice cultivated area throughout the country.2-3 times per year
.
(3) budget research and development of rice production is too small!At present, the government did not give importance as it should be with the research and development to improve the breed, including technology in rice cultivation. The development of the knowledge and ability to rice farmers.The budget that had come for the development and research of Thai rice. Be in the hundreds million per year. While important rival countries like Vietnam. The Vietnamese government focus on this very much.In support of research and development of the continuously. Including the use of assistance to farmers to increase production. Support the propagation of Rice's ใม่ๆ. High yielding and take shorter in cultivation.To be considerate towards the rice to export specifically. These factors make Vietnam can develop in rice production quickly
.
(4) Thai rice export prices higher than neighboring countries
.When comparing Thai rice export prices with neighboring countries in ASEAN. Able to produce and export rice and Myanmar, Laos, Vietnam and Cambodia price of Thai rice, it is considered to be fairly high.The Thailand in the ASEAN market and the world market. In the rice export price lower than Thai Vietnamese quite a lot. Seen from the price of rice species 5% in 2550 price of Rice Thai Vietnamese than just 20.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: