In 2475 (1932) Luang Suwan cooperative cultivating the passive voice. Elementary school teacher training, founder of farm crops up that Luang Suwan Kho, the passive voice is an experimental station was established in cultivating farm crops in the South at chamuang House in Tambon khuan Niang district, kamphaeng Phet province of Songkhla, and the station moved to 2476 (1933) located at Tambon Hat Yai district Kho with elementary school teachers ' training area farming at t. Kho. By Luang Suwan passive voice cultivating cooperative has been appointed as the first headmaster. Later, in College, botanical exploration capital 2496 (1953) (incomplete at Thalang) Head of Division tires and Mr. Diamond Rutna chanthon Assistant Army Chief, Yang proposed a draft Act of planting rather than Government. However, such an act must take up to 6 hours in 6 years, the Government has issued relief funds act of gardening in tires and 2503 (1960) Office was established to assist the Fund in rubber plantation instead of planting with progressive parties 2504 (1961) good and satisfactory of SSH.Wotwon timber in southern the capital, the University Botanical Survey (completed at Thalang) Mr. Diamond Rutna chanthon, planting originator instead. Timber grown in the first rubber, mainly indigenous, low-productivity. As a result, there are fewer farmers, timber revenue, especially in the depressed price range! How to fix is to replace the native timber, planting them with timber varieties, high output quality. Rubber manufacturer. many countries have accelerated the old rubber plantations with improved varieties of timber, rather than to increase the output of rubber, Malaysia countries para. rubber plantations in the welfare legislation 2495 (1952) and Sri Lanka have similarly, legislation in subsequent 2496 (1953) received cooperation from the Office of the United Nations development programme to establish a research center to tire at t. Kho in 2508 (1965)ในปี พ.ศ. 2508 ดร.เสริมลาภ วสุวัต ซึ่งเป็นผู้วางรากฐานการวิจัยและพัฒนายางพารา การวิจัยและพัฒนายางพาราเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับความก้าวหน้าของอุตสาหกรรมยางพาราไทย โดยเปลี่ยนสถานะจากสถานีทดลองยางพาราตำบลคอหงส์ ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการวางรากฐานการวิจัย และพัฒนายางของไทยคือ ดร.เสริมลาภ วสุวัต ผู้อำนวยการกองการยาง ซึ่งเป็นผู้ควบคุมและดูแลศูนย์วิจัยการยางที่ตั้งขึ้นใหม่ ศูนย์วิจัยการยางได้รับความช่วยเหลือจากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ และมีผู้เชี่ยวชาญยางพาราสาขาต่างๆ มาช่วยวางรากฐานในการวิจัยและพัฒนาร่วมกับนักวิจัยของไทยในระยะเริ่มแรก มีการวิจัยยางด้านต่างๆ เช่น ด้านพันธุ์ยางพารา โรคและศัตรูยางพารา ด้านดินและปุ๋ย การดูแลรักษาสวนยางพารา การกำจัดวัชพืช การปลูกพืชคลุม การปลูกพืชแซมเพื่อเพิ่มพูนรายได้ให้แก่ชาวสวนยางพารา ด้านอุตสาหกรรมยางพาราและเศรษฐกิจยางพารา และมีการพัฒนายางพาราโดยเน้นการพัฒนาสวนยางพาราขนาดเล็ก เช่น การกรีดยางหน้าสูง การใช้ยาเร่งน้ำยางพารา การส่งเสริมการแปลงเพาะและขยายพันธุ์ยางพาราของภาคเอกชน การรวมกลุ่มขายยางและการปรับปรุงคุณภาพยางพารา และการใช้ประโยชน์ไม้ยางพารา มีการออกวารสารยางพาราเพื่อเผยแพร่ความรู้ไปสู่ชาวสวนยางพาราและผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัดหลักสูตรการฝึกอบรมและการจัดสัมมนายางพาราเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้แพร่หลายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการร่วมมือกับองค์กรยางระหว่างประเทศในการวิจัยและพัฒนายางอย่างกว้างขวาง ในระยะต่อมาศูนย์วิจัยการยางได้เปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์วิจัยยางสงขลาในปี พ.ศ. 2527 และมีการก่อตั้งศูนย์วิจัยขึ้นอีกที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดนราธิวาส เพื่อขยายงานวิจัย และพัฒนายางพาราให้ครอบคลุมพื้นที่ปลูกยางพาราของประเทศ การวิจัยและพัฒนายางเหล่านี้เป็นพื้นฐานที่สำคัญทำให้การปลูกแทนในพื้นที่ยางประสบความสำเร็จมากขึ้น (องค์การสวนยาง จังหวัดนครศรีธรรมราช)
การแปล กรุณารอสักครู่..
