เล่าขานตำนานเมารี เรื่องราวของธารน้ำแข็งฟรานโจเซฟก็เป็นเรื่องราวที่เกี การแปล - เล่าขานตำนานเมารี เรื่องราวของธารน้ำแข็งฟรานโจเซฟก็เป็นเรื่องราวที่เกี อังกฤษ วิธีการพูด

เล่าขานตำนานเมารี เรื่องราวของธารน้

เล่าขานตำนานเมารี
เรื่องราวของธารน้ำแข็งฟรานโจเซฟก็เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับชาวเมารีเช่นกัน ถ้ามีโอกาสไปเที่ยวนิวซีแลนด์แล้วต้องไปธารน้ำแข็งที่มีชื่อเสียงมากที่สุด 2 แห่งภายในเขตอุทยานแห่งชาติเวสต์แลนด์ ได้แก่ธารน้ำแข็งฟรานโจเซฟ (Franz Joseph Glacier) และธารน้ำแข็งฟ็อกซ์ (Fox Glacier) จัดได้ว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวหลักของประเทศที่เต็มไปด้วยความมหัศจรรย์ทางธรรมชาติ โดยธารน้ำแข็งคู่มีความยาวประมาณ 13 กิโลเมตร
จุดเด่นที่แตกต่างไม่เหมือนกับธารน้ำแข็งอื่นๆ นั้นก็คือ ธารน้ำแข็งคู่นี้ไหลมาจากบริเวรที่มีหิมะปกคลุมตลอดเวลา ไปยังเขตป่าดิบชื้นซึ่งอยู่ใกล้ทะเลมากๆ และมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง ลักษณะเช่นนี้ไม่สามารถจะพบในที่อื่นๆได้เลย อาจจะกล่าวได้ว่า ไม่มีที่ใดในโลกที่จะสามารถเข้าถึงธารน้ำแข็งในอุณหภูมิปกติง่ายดายเช่นนี้
ธารน้ำแข็งแห่งนี้มีความสำคัญต่อชาวเมารีนั่งก็คือว่า เดิมแล้วชาวเมารีเรียกธารน้ำแข็งฟรานโจเซฟแห่งนี้ว่า
“คา รอยมาทา โอ ฮีเนฮูกาเทเร” (KaRoimata o Hine Hukatere) แปลว่า “น้ำตาแห่งสตรีหิมะ” โดยตามตำนานได้เล่าว่ามีสตรีหิมะผู้หนึ่งชื่อว่า “ฮีเน่ฮูกาเทเร่” ชื่นชอบการปีนภูเขามากๆ จึงได้ชวนคนรักของเธอไปด้วยกันแต่เมื่อปีนขึ้นไปจนใกล้จะถึงยอดเขาแล้วนั้น ชายคนรักของเธอก็พลัดตกภูเขาเสียชีวิต ด้วยความเศร้าโศกเสียใจมาก เธอจึงร้องให้ออกมาเสียน้ำตามากมายมหาศาล ท้ายที่สุดน้ำตามากมายมหาศาลที่ใหลลงจากภูเขานั้นก็กลายเป็นธารน้ำแข็งไปชั่วกัลปวสานนั่นเอง
นั่นก็คือเรื่องราวเล็กๆน้อยเกี่ยวกับเมารีแต่ประวัติศาสตร์โดยสังเขปแล้วนิวซีแลนด์นั้นเดิมถูกปกครองโดยชาวเมารี แต่มีนักล่องเรือชาวดัตช์ ชื่อ อาเบลแยนซุน ทัสแมน ได้ล่องเรือเลียบมาทางออสเตรเลียและได้พบเกาะนิวซีแลนด์เข้า และได้พบกับชาวเมารีที่ส่วนใหญ่นั้นเป็นมิตรจึงได้ตั้งชื่อเกาะนี้ว่า Nieuw Zeeland หรือ New Zealand จากนั้นชื่อเสียงของนิวซีแลนด์ก็เป็นที่รู้จักกันในยุโรป เพราะมีธรรมชาติที่สวยงามเหมาะกับการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์มาก ต่อมากัปตันเจมส์ คุก ได้ล่องเรือมาบ้าง แต่โชคดีที่มีคนบนเรือสามารถพูดภาษาไวทิงกิได้บ้าง จึงเจรจากับชาวเมารีได้ และพบว่าชาวเมารีเป็นชนเผ่าสายเลือดนับรบ จึงได้ตกลงแลกพืชพันธุ์กับอาวุธจากทางยุโรป และต่อมาเมื่อชาวเมารีมีอาวุธมากจึงสู้รบกันจนชนเผ่าเมารีลดลง ทางอังกฤษจึงได้ส่งคนมาทำสัญญา ที่มีชื่อว่า สนธิสัญญาไวทังกิ ขึ้น และส่งคนมาสำเร็จราชการแทนชื่อ วิลเลียมฮอบสัน
การตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรปสมัยต้นๆ
ในค.ศ. 1642 เอเบิลแทสแมน นักเดินเรือชาวดัชเป็นผู้ค้นพบเกาะและได้ตั้งชื่อว่าเกาะนิวซีแลนด์
แทสแมนได้พบและปล่อยให้ชาวเมารีจับจองเป็นเจ้าของ และหลังจากแทสแมนไปแล้วอีก 127 ปี พวกเมารีก็อยู่อย่างสุขสบายตามเผ่าต่างๆ ของตนโดยไม่ถูกรบกวน จนกระทั่งถึง ค.ศ. 1769 ที่กับตันเจมส์ คุกได้มาค้นพบเกาะนี้เข้า โดยที่คุกได้เขียนรายงานไว้อย่างชื่นชมในตอนที่ขึ้นฝั่งว่า ต่อไปเมื่อได้มีการจัดตั้งอาณานิคมนักโทษขึ้นในนิวเซาท์เวลส์แล้ว บรรดาผู้ตั้งรกรากอิสระคงจะมีโอกาสทำการค้าไม้สักและป่าลินินกับพวกเมารี
หลังจากนั้น คุกก็ได้จับจองพื้นที่ของนิวซีแลนด์ ก็ได้มีนักเดินทางสำรวจต่อมาอีก คือ เดอเซอร์วิล (De Surville) ซึ่งได้ทำการสำรวจหลังจากกับตันคุกอีก 2 เดือน ต่อมาก็มีมาเรียน ดู เฟรสเน (Marion du Fresne) ที่ถูกชาวเมารีฆ่าตาย แวนคูเวอร์ (Vancuver) และ คอเธอคาสโตว์ (D’Entrecastaux) และมาลาสปินา (Malaspina)[4]
พวกนักเดินเรือเป็นพวกที่เดินทางมาแวะชั่วคราว แต่การสำรวจของพวกเขาก็นับว่าเป็นการแผ้วถางของการค้าไม้สัก ป่าลินิน แมวน้ำ และปลาวาฬ และต่อมาก็มีการรับซื้อหมูและมันฝรั่งจากพวกเมารีด้วย พวกเมารีเองก็ได้พยายามปรับตัวเองให้เข้ากับการเกษตรและการค้าไม้แบบใหม่ พวกเมารีเองก็ได้รับซื้อสินค้าต่าง จากชาวยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องมือที่ทำด้วยเหล็กและโล่ เมืองท่าทางการค้าที่สำคัญอยู่ที่เมืองซิดนีย์ ซึ่งได้จัดตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1788 โดยอีก 30 ปีต่อมา คือก่อนค.ศ. 1840 นิวซีแลนด์ก็ได้ชื่อว่าเป็นอาณานิคมของผู้เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เต็มไปด้วยความมุ่งมั่นอย่างเอาจริงเอาจัง
ใน ค.ศ. 1800 นักล่าแมวน้ำและนักล่าปลาวาฬจากอเมริกาเหนือและออสเตรเลียเริ่มเข้ามาใช้ประเทศนิวซีแลนด์เป็นฐานที่ใช้สำหรับการล่า
ในช่วง ค.ศ. 1814 พวกมิชชันนารีก็เข้ามาในนิวซีแลนด์ และได้จัดตั้งองค์กรศาสนาคริสต์นิกายอังกฤษขึ้นที่อ่าวแจ็คสันในออสเตรเลีย ต่อมาพวกพระสอนศาสนาชาวฝรั่งเศสชื่อ ปอมปาลิเอ (Pompallier) ได้เข้ามาสอนศาสนาเช่นเดียวกัน พวกมิชชันนารีเหล่านี้ ได้พยายามชักชวนให้พวกเมารีเข้ารีต แต่การดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1833 รัฐบาลอังกฤษได้รับการขอร้องจากพวกมิชชันนารีและพวกพ่อค้า จึงได้จัดตั้งที่พักขึ้นในนิวซีแลนด์ แต่ไม่มีอำนาจอันใดมากนัก เปรียบเสมือนกับการไม่มีนักรบ ซึ่งเป็นคำพูดเหมือนจะเป็นการดูถูกพวกเมารีด้วย อันเนื่องมาจากว่าชาวอังกฤษเองก็ไม่มีอำนาจที่จะรักษาระเบียบแบบแผนเองได้ และพวกเมารีมัวแต่ใช้โล่ที่ซื้อมาจากชาวยุโรปทำสงครามระหว่างเผ่าพันธุ์ด้วยกันอยู่เป็นประจำ ถ้าเมื่อใดก็ตามที่พวกเมารีเหนื่อยล้าจากการทำสงครามแล้ว พวกนี้ถึงจะรับการสอนจากพวกมิชชันนารี แต่อย่างไรก็ตามนับจากช่วง 1830 ถึง 1840 เป็นต้นมา การเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ของพวกเมารีนั้นถือได้ว่ากลับออกมาเป็นในรูปของการที่ให้พวกมิชชันนารีมาสอนอ่านและเขียนให้กับพวกตน ช่วยบำบัดความเจ็บป่วยทางกานและจิตใจ นับว่าเป็นส่วนที่พวกเมารีได้ได้รับเอาจากพวกมิชชันนารีในด้านของสังคม อย่างไรก็ตาม จากการสงครามและการติดเชื้อโรคระบาดจากชาวยุโรป ทำให้จำนวนเหลือเพียง 42,000 คนเท่านั้น ในขณะเดียวกัน การค้าและการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในนิวซีแลนด์ของชาวยุโรปก็มีจำนวนที่มากขึ้นเช่นกัน
นับจาก ค.ศ. 1830 เป็นต้นมา ได้เกิดการจลาจลขึ้นในนิวซีแลนด์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในศูนย์กลางการจับปลาวาฬและศูนย์กลางของพวกมิชชันนารีที่ตั้งอยู่ตามเมืองท่าต่างๆของเกาะ ก่อน ค.ศ. 1838 ชาวยุโรปที
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Legendary Māori legend. The story of glaciers, it is a story that Francesco Joseph associated with Māori. If you have the opportunity to go to New Zealand, glaciers at the most famous two within wetlaen National Park: Glacier Joseph (Franz Joseph Glacier), Francesco and the glacier Fox (Fox Glacier) is a main tourist attraction of the country full of natural wonders. By glaciers about 13 kilometers long, pairThe focal point is different, unlike other glaciers are glaciers this pair coming over with Bruce snow covered all the time. Go to the rainforest zone, located near the sea and it is raining continuously. This behavior can not be found elsewhere. it may be noted that there is no place in the world to have access to the glaciers in this temperature.Glaciers also has important people of Māori seats is that originally, the people of Māori called glaciers Francesco Joseph as.“คา รอยมาทา โอ ฮีเนฮูกาเทเร” (KaRoimata o Hine Hukatere) แปลว่า “น้ำตาแห่งสตรีหิมะ” โดยตามตำนานได้เล่าว่ามีสตรีหิมะผู้หนึ่งชื่อว่า “ฮีเน่ฮูกาเทเร่” ชื่นชอบการปีนภูเขามากๆ จึงได้ชวนคนรักของเธอไปด้วยกันแต่เมื่อปีนขึ้นไปจนใกล้จะถึงยอดเขาแล้วนั้น ชายคนรักของเธอก็พลัดตกภูเขาเสียชีวิต ด้วยความเศร้าโศกเสียใจมาก เธอจึงร้องให้ออกมาเสียน้ำตามากมายมหาศาล ท้ายที่สุดน้ำตามากมายมหาศาลที่ใหลลงจากภูเขานั้นก็กลายเป็นธารน้ำแข็งไปชั่วกัลปวสานนั่นเองนั่นก็คือเรื่องราวเล็กๆน้อยเกี่ยวกับเมารีแต่ประวัติศาสตร์โดยสังเขปแล้วนิวซีแลนด์นั้นเดิมถูกปกครองโดยชาวเมารี แต่มีนักล่องเรือชาวดัตช์ ชื่อ อาเบลแยนซุน ทัสแมน ได้ล่องเรือเลียบมาทางออสเตรเลียและได้พบเกาะนิวซีแลนด์เข้า และได้พบกับชาวเมารีที่ส่วนใหญ่นั้นเป็นมิตรจึงได้ตั้งชื่อเกาะนี้ว่า Nieuw Zeeland หรือ New Zealand จากนั้นชื่อเสียงของนิวซีแลนด์ก็เป็นที่รู้จักกันในยุโรป เพราะมีธรรมชาติที่สวยงามเหมาะกับการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์มาก ต่อมากัปตันเจมส์ คุก ได้ล่องเรือมาบ้าง แต่โชคดีที่มีคนบนเรือสามารถพูดภาษาไวทิงกิได้บ้าง จึงเจรจากับชาวเมารีได้ และพบว่าชาวเมารีเป็นชนเผ่าสายเลือดนับรบ จึงได้ตกลงแลกพืชพันธุ์กับอาวุธจากทางยุโรป และต่อมาเมื่อชาวเมารีมีอาวุธมากจึงสู้รบกันจนชนเผ่าเมารีลดลง ทางอังกฤษจึงได้ส่งคนมาทำสัญญา ที่มีชื่อว่า สนธิสัญญาไวทังกิ ขึ้น และส่งคนมาสำเร็จราชการแทนชื่อ วิลเลียมฮอบสันการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรปสมัยต้นๆในค.ศ. 1642 เอเบิลแทสแมน นักเดินเรือชาวดัชเป็นผู้ค้นพบเกาะและได้ตั้งชื่อว่าเกาะนิวซีแลนด์ แทสแมนได้พบและปล่อยให้ชาวเมารีจับจองเป็นเจ้าของ และหลังจากแทสแมนไปแล้วอีก 127 ปี พวกเมารีก็อยู่อย่างสุขสบายตามเผ่าต่างๆ ของตนโดยไม่ถูกรบกวน จนกระทั่งถึง ค.ศ. 1769 ที่กับตันเจมส์ คุกได้มาค้นพบเกาะนี้เข้า โดยที่คุกได้เขียนรายงานไว้อย่างชื่นชมในตอนที่ขึ้นฝั่งว่า ต่อไปเมื่อได้มีการจัดตั้งอาณานิคมนักโทษขึ้นในนิวเซาท์เวลส์แล้ว บรรดาผู้ตั้งรกรากอิสระคงจะมีโอกาสทำการค้าไม้สักและป่าลินินกับพวกเมารีหลังจากนั้น คุกก็ได้จับจองพื้นที่ของนิวซีแลนด์ ก็ได้มีนักเดินทางสำรวจต่อมาอีก คือ เดอเซอร์วิล (De Surville) ซึ่งได้ทำการสำรวจหลังจากกับตันคุกอีก 2 เดือน ต่อมาก็มีมาเรียน ดู เฟรสเน (Marion du Fresne) ที่ถูกชาวเมารีฆ่าตาย แวนคูเวอร์ (Vancuver) และ คอเธอคาสโตว์ (D’Entrecastaux) และมาลาสปินา (Malaspina)[4]พวกนักเดินเรือเป็นพวกที่เดินทางมาแวะชั่วคราว แต่การสำรวจของพวกเขาก็นับว่าเป็นการแผ้วถางของการค้าไม้สัก ป่าลินิน แมวน้ำ และปลาวาฬ และต่อมาก็มีการรับซื้อหมูและมันฝรั่งจากพวกเมารีด้วย พวกเมารีเองก็ได้พยายามปรับตัวเองให้เข้ากับการเกษตรและการค้าไม้แบบใหม่ พวกเมารีเองก็ได้รับซื้อสินค้าต่าง จากชาวยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องมือที่ทำด้วยเหล็กและโล่ เมืองท่าทางการค้าที่สำคัญอยู่ที่เมืองซิดนีย์ ซึ่งได้จัดตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1788 โดยอีก 30 ปีต่อมา คือก่อนค.ศ. 1840 นิวซีแลนด์ก็ได้ชื่อว่าเป็นอาณานิคมของผู้เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เต็มไปด้วยความมุ่งมั่นอย่างเอาจริงเอาจัง In 1800, seal hunters and whale hunters from North America, Australia and New Zealand to start a country as a base for hunting.ในช่วง ค.ศ. 1814 พวกมิชชันนารีก็เข้ามาในนิวซีแลนด์ และได้จัดตั้งองค์กรศาสนาคริสต์นิกายอังกฤษขึ้นที่อ่าวแจ็คสันในออสเตรเลีย ต่อมาพวกพระสอนศาสนาชาวฝรั่งเศสชื่อ ปอมปาลิเอ (Pompallier) ได้เข้ามาสอนศาสนาเช่นเดียวกัน พวกมิชชันนารีเหล่านี้ ได้พยายามชักชวนให้พวกเมารีเข้ารีต แต่การดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1833 รัฐบาลอังกฤษได้รับการขอร้องจากพวกมิชชันนารีและพวกพ่อค้า จึงได้จัดตั้งที่พักขึ้นในนิวซีแลนด์ แต่ไม่มีอำนาจอันใดมากนัก เปรียบเสมือนกับการไม่มีนักรบ ซึ่งเป็นคำพูดเหมือนจะเป็นการดูถูกพวกเมารีด้วย อันเนื่องมาจากว่าชาวอังกฤษเองก็ไม่มีอำนาจที่จะรักษาระเบียบแบบแผนเองได้ และพวกเมารีมัวแต่ใช้โล่ที่ซื้อมาจากชาวยุโรปทำสงครามระหว่างเผ่าพันธุ์ด้วยกันอยู่เป็นประจำ ถ้าเมื่อใดก็ตามที่พวกเมารีเหนื่อยล้าจากการทำสงครามแล้ว พวกนี้ถึงจะรับการสอนจากพวกมิชชันนารี แต่อย่างไรก็ตามนับจากช่วง 1830 ถึง 1840 เป็นต้นมา การเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ของพวกเมารีนั้นถือได้ว่ากลับออกมาเป็นในรูปของการที่ให้พวกมิชชันนารีมาสอนอ่านและเขียนให้กับพวกตน ช่วยบำบัดความเจ็บป่วยทางกานและจิตใจ นับว่าเป็นส่วนที่พวกเมารีได้ได้รับเอาจากพวกมิชชันนารีในด้านของสังคม อย่างไรก็ตาม จากการสงครามและการติดเชื้อโรคระบาดจากชาวยุโรป ทำให้จำนวนเหลือเพียง 42,000 คนเท่านั้น ในขณะเดียวกัน การค้าและการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในนิวซีแลนด์ของชาวยุโรปก็มีจำนวนที่มากขึ้นเช่นกันนับจาก ค.ศ. 1830 เป็นต้นมา ได้เกิดการจลาจลขึ้นในนิวซีแลนด์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในศูนย์กลางการจับปลาวาฬและศูนย์กลางของพวกมิชชันนารีที่ตั้งอยู่ตามเมืองท่าต่างๆของเกาะ ก่อน ค.ศ. 1838 ชาวยุโรปที
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: