3. dress in contemporary Thailand, according to the history and archaeology.The Ayutthaya period (August 10, 1893 to 2310 (1767)) C. to date since God created u-thong of Ayutthaya 1893. The villagers support the axles out, pants or detachment and probably only use peer Court bureaucracy. The Khmer Rouge has been polished to leave long under the knee is "wear a loincloth." Stable wind shirt khaenkrom Sok. Women wear a shawl-clad fabrics and Brocade vest. As much as khaenkrabok The dress of the Ayutthaya period has been changed by the events of the country where there are 3: 1. the dress code in accordance with the rules of the monthianban as a boss. Officials adults, both men and women, as well as to their status. Women's boxing is to proclaim the. 2. dress the villagers (middle term of Ayutthaya) There is a way to wear a loincloth, North city bar. Men may have long hair. The southern section to cut the hair shorter but King Narai was placed I Interior. Women still long hair, a shawl to cover top. 3. war era (the late Ayutthaya period), both men and women need to help fight against the enemy. Women short hair cut down to disguise as a man and to escape. Clothing garments so truncated not to rumram as a threat to the movement and motion. The fabric is a little cross each other, Bangalore is a man clad in kata. Already gathered in front of the chest to the neck. Best man doesn't change (family name โค้ว luck, debates, 2542 (1999): 22). Ayudhya era uniforms so it is divided into the following 4 era (2526 (1983) chanthon Prapa, Nativity: 28). From 1893 to 1937 2031 1 BC. (Female) I still proclaim your there, I proclaim the occiput, and 2 to proclaim proclaim on high (nayik mice). The head is called kiao jewelry is a band I'm boxing. The necklace jewelry Bracelet, Bangle, earring Wear a skirt pleat front dress wear, shirts, wind shirts, long slit in front of khaenkrabok worked out to cover the hips are in their clothes, but leave the boys out on the outside of the shirt to the beach one of the shirts. Men's I am an officer and serve a short hair cut, I still proclaim the man klangkramom, as well as girls. เครื่องแต่งกาย นุ่งกางเกงยาวลงมาแค่หน้าแข้ง ปลายขาเรียวเล็กกว่าเดิม นุ่งผ้าหยักรั้ง แบบเขมรซ้อนทับกางเกง ชายผ้ายาวเสมอเข่า ใช้ผ้าคาดเอว สวมเสื้อคอแหลม แขนยาวจรดข้อมือ ผ่าอก สาบซ้ายทับสาบขวา มีผ้ากุ๊นตรงปลายแหลม คอ สาบหน้า และชายเสื้อ เครื่องประดับ จากหลักฐานการขุดกรุใต้พระปรางค์วัดราชบูรณะพบว่า ส่วนบนของ มงกุฎที่ครอบมวยพระเศียรของกษัตริย์ พาหุรัดหรือทองกร เครื่องประดับศีรษะถักด้วยลวดทองคำ สมัยที่ 2 พ.ศ. 2034-2171 หญิง ผม ตัดผมสั้น หวีเสยขึ้น ไปเป็นผมปีก บ้างก็ยังไว้ผมยาวเกล้าบนศีรษะ เลิกเกล้าเมื่อ พ.ศ. 2112 เพราะต้องทำงานหนักไม่มีเวลาเกล้าผม เครื่องแต่งกาย นุ่งกางเกงหรือโจงกระเบน สวมเสื้อแขนกระบอก คอกลมผ่าอก ไม่นิยมสไบ ผู้หญิงชั้น สูงสวมเสื้อคอแหลม มีผ้าคล้องไหล่ 2 ข้าง การห่มสไบมีหลายแบบ 1. พันรอบตัวเหน็บทิ้งชาย 2. ห่มแบบสไบเฉียง คือ พันรอบอก 1 รอบแล้วเฉวียงขึ้นบ่าปล่อยชายไว้ข้างหลังเพียงขาพับ 3. แบบสะพัก สองบ่า ใช้ผ้าพันรอบตัวทับกันที่อกแล้วจึงสะพักไหล่ทั้งสองปล่อยชายไปข้าง หลัง ทั้ง 2 ข้าง 4. แบบคล้องไหล่ เอาชายไว้ข้างหลังทั้งสองชาย 5. แบบคล้องคอห้อยชายไว้ข้างหน้า 6. แบบห่มคลุม ชาย ผม ตัดผมสั้น แสกกลาง เครื่องแต่งกาย นุ่งโจงกระเบน ไม่สวมเสื้อ มีผ้าคล้องไหล่ สมัยที่ 3 พ.ศ. 2173 – พ.ศ. 2275 หญิง ผม สตรีในสำนักไว้ผมแบบหญิงพม่าและล้านนาไทย คือ เกล้าไว้บนกระหม่อมแล้ว คล้องด้วยมาลัย ถัดลงมาปล่อยผมสยายยาว ส่วนหญิงชาวบ้านตัดผมสั้น ตอนบนแล้วถอนไรผม รอบ ๆ ผมตอนที่ถัดลงมาไว้ยาวประบ่า เรียกว่า “ผมปีก” บางคนโกนท้ายทอย คนรุ่นสาวไว้ผม ดอกกระทุ่มไม่โกนท้ายทอยปล่อยยาวเป็นรากไทร การแต่งกาย หญิงในราชสำนักนุ่งผ้าซิ่น สวมเสื้อ ผ่าอก คอแหลม (เดิมนิยม คอกลม) แขนกระบอกยาวจรดข้อมือหญิงชาวบ้านนุ่งผ้าจีบห่มสไบ มี 3 แบบ คือ รัดอก สไบเฉียง และห่ม ตะเบงมาน (ห่มไขว้กันแล้วรวบไปผูกไว้หลังคอ) เหมาะสำหรับเวลาทำงาน บุกป่า ออกรบ เครื่องประดับ ปักปิ่นทองที่มวยผม สวมแหวนหลายวง สร้อยคอ สร้อยข้อมือ การแต่งหน้า หญิงชาววัง ผัดหน้า ย้อมฟัน และเล็บเป็นสีดำ ไว้เล็บยาวทางปากแดง หญิงชาวบ้าน ชอบประแป้งลายพร้อย ไม่ไว้เล็บ ไม่ทาแก้ม ปาก ชาย ผม ตัดสั้น ทรงมหาดไทย (คงไว้ตอนบนศีรษะรอบๆ ตัดสั้น และโกนท้ายทอย) การแต่งกาย นุ่งโจงกระเบน ใช้ผ้าขาวม้าคล้องคอ แล้วตลบไปห้อยชายไว้ทางด้านหลัง สวมเสื้อคอกลม ผ่าอกแขนยาวจรดข้อมือ ในงานพิธีสวม เสื้อ ยาวถึงหัวเข่า ติดกระดุม ด้านหน้า 8 – 10 เม็ด แขนเสื้อ กว้าง และสั้น มาก ไม่ถึงศอก นิยมสวมหมวกแบบต่าง ๆ ขุนนางจะสวม ลอมพอกยอดแหลม ไปงานพิธีจะสวมรองเท้าแตะปลายแหลมแบบแขกมัวร์สมัยที่ 4 พ.ศ. 2275 ถึง พ.ศ. 2310 หลักฐานจากวัดใหญ่สุวรรณารามจังหวัดเพชรบุรีเป็นลักษณะเครื่องทรงในพระมหา กษัตริย์และคนชั้น สูง หญิง การแต่งผม มี 3 แบบ คือ 1. ทรงผมมวยกลางศีรษะ 2. ทรงผมปีกมีจอนผม3. ทรงหนูนหยิกรักแครง (เกล้าพับสองแล้วเกี้ยว กระหวัดไว้ที่โคน รักแครง เกล้า ผมมวยกลมเฉียงไว้ด้านซ้ายหรือขวา) 4. ทรงผมประบ่า มักจะรวมผมปีกและผมประป่าอยู่ในทรงเดียวกันและผมปีกทำ เป็นมวยด้วยเครื่องประดับ นิยมสวมเทริด สวมกำไลข้อมือหลายอัน มีสร้อยข้อมือที่ใหญ่กว่าสมัยใด สร้อยตัวสวมเฉียงบ่ามีลวดลายดอกไม้ สิ่งที่ใหม่กว่าสมัยใดคือ สวมแหวนก้อยชนิดต่าง ๆ และ แหวนงูรัดต้นแขน การแต่งหน้าแต่งตัว ทาขมิ้น ให้ตัวเหลืองดังทอง ผัดหน้าขาว ย้อมฟันดำ ย้อมนิ้ว และเล็บด้วยดอกกรรณิการ์ให้สีแดง การแต่งกาย ของคนชั้น สูงนุ่งซิ่นยก จีบหน้า ห่มตาด สวมเสื้อริ้วทอง (ทำด้วยผ้าไหม สลับด้วยเส้นทองแดง) ห่มสไบ ชาวบ้านท่อนบนคาดผ้าแถบหรือห่มสไบ นุ่งโจงกระเบนหรือ ผ้าถุง การห่มสไบมี 2 แบบ คือ
1. ห่มคล้องคอตลบชายไปข้างหลังทั้ง 2 ข้าง กันบนเสื้อ ริ้วทอง และใช้เจียระบาด (ผ้าคาดพุง) คาดทับเสื้อปล่อยชายลงตรงด้านหน้า
2. ห่มสไบเฉียงไม่ใส่เสื้อเมื่ออยู่กับบ้าน
ชาย
ไว้ทรงมหาดไทย ทาน้ำมันหอม
การแต่งกาย สวมเสื้อคอกลมสวมศีรษะ แขนยาวเกือบจรดศอก มีผ้าห่มคล้องคอแล้ว ตลบชายทั้งสองไปข้างหลัง นุ่งโจงกระเบน ส่วนเจ้านายจะทรงสนับเพลาก่อน แล้วทรงภูษา จีบโจง มีไหมถักรัดพระองค์ แล้วจึงทรงฉลองพระองค์ คาดผ้าทิพย์ทับฉลองพระองค์อีกที
การแต่งกายสมัยอยุธยา สำหรับผู้ที่สนใจควรศึกษาล
การแปล กรุณารอสักครู่..