ก. สมดุลของการแตกตัว เกิดขึ้นกับการละลายของอิเล็กโทรไลต์อ่อนในน้ำ บางส การแปล - ก. สมดุลของการแตกตัว เกิดขึ้นกับการละลายของอิเล็กโทรไลต์อ่อนในน้ำ บางส อังกฤษ วิธีการพูด

ก. สมดุลของการแตกตัว เกิดขึ้นกับการ

ก. สมดุลของการแตกตัว เกิดขึ้นกับการละลายของอิเล็กโทรไลต์อ่อนในน้ำ บางส่วนจะแตกตัวเป็นไอออน ในขณะที่บางส่วนของไอออนจะรวมกันโมเลกุลเมื่อถึงภาวะสมดุลอัตราการแตกตัวเป็นไอออนจะเท่ากับอัตราการรวมกันเป็นโมเลกุล เรียกว่า สมดุลของการแตกตัว ตัวอย่างเช่นการละลายของกรดไฮโดรไซยานิก (HCN) ในน้อ HCN จะแตกตัวบางส่วนเป็นไอออนซึ่งจัดว่าเป็นปฏิกิริยาไปข้างหน้า


ข. สมดุลของการละลาย เกิดขึ้นกับการละลายของอิเล็กโทรไลต์แก่หรือนอน – อิเล็กโทรไลต์ที่อยู่ในภาวะอิ่มตัวและมีของแข็งเหลืออยู่ เมื่อนำอิเล็กโทรไลต์แก่เช่น NaCI หรือนอน-อิเล็กโทรไลต์ เช่น C6H12O6 ละลายในน้ำ ในตอนแรกของแข็งเหล่านี้จะละลายได้หมดไม่มีภาวะสมดุลเกิดขึ้น แต่เมื่อเติมของแข็งลงไปในน้ำเรื่อย ๆ จนได้สารละลายอิ่มตัวจะมีภาวะสมดุลเกิดขึ้น ผลึกของแข็งส่วนหนึ่งจะละลายในน้ำซึ่งเป็นปฏิกิริยาไปข้างหน้า ในขณะเดียวกันสารที่อยู่ในสารละลายอิ่มตัวจะรวมกันเกิดเป็นผลึกของแข็งขึ้นมาใหม่ซึ่งเป็นปฏิกิริยาย้อนกลับ ที่ภาวะสมดุลอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า (อัตราการละลาย) จะเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ (อัตราการตกผลึก) เรียกว่า สมดุลของการละลาย
ตัวอย่างเช่นสมดุลของการละลายของ I2 ในตัวทำละลายผสมระหว่างน้ำกับเอธานอล ซึ่งจัดว่าเป็นการละลายของนอน – อิเล็กโทรไลต์เมื่อ I2 ละลายในเอธานอลจนได้สารละลายอิ่มตัว มีผลึกของ I2 เหลืออยู่จะมีภาวะสมดุลเกิดขึ้น


ในกรณีการละลายของอิเล็กโทรไลต์แก่ก็เช่นเดียวกัน จะมีสมดุลของการละลายเกิดขึ้น เช่น การละลายของCuSO4 ในน้ำ เมื่อสารละลายอิ่มตัวสีของสารละลายจะคงที่ (สีฟ้าของ Cu2+) และมีผลึก CuSO4 เหลืออยู่


จะเห็นได้ว่าการเกิดสารละลายสามารถมีภาวะสมดุลได้ 2 ประเภทคือสมดุลของการแตกตัวและสมดุลของการละลาย
สมดุลของการแตกตัวจะเกิดขึ้นกับการเกิดสารละลายของอิเล็กโทรไลต์อ่อนและสมดุลของการละลายจะเกิดขึ้นกับการเกิดสารละลายของอิเล็กโทรไลต์แก่
หรือนอนอิเล็กโทรไลต์ โดยที่สารละลายนั้นจะต้องอยู่ในภาวะอิ่มตัว (ถ้าไม่ใช่สารละลายอิ่มตัวจะไม่เกิดภาวะสมดุล)

2.1 สมดุลในปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีก็สามารถเกิดภาวะสมดุลได้เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามลักษณะของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น เช่น



โดยทั่ว ๆ ไปปฏิกิริยาเคมีที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบผันกลับได้ จะเกิดสมดุลไดนามิกได้ทั้งสิ้น แต่อาจจะใช้เวลาในการดำเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลไม่เท่ากับ เขียนเป็นสมการทั่ว ๆ ไปได้ดังนี้








.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล
.3.1 ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
1.ค่าคงที่สมดุล
ระบบสมดุลของ H2-I2-HI โดยทำการทดลองสารที่มีปริมาณต่าง ๆ ทำปฏิกิริยากันเข้าสู่สมดุลที่อุณหภูมิ 731Kดังสมการของปฏิกิริยาสมดุล คือ
H2 (g) + I2 (g) < --------- > 2HI(g)


ตารางพบว่า การทดลองที่ 1 ถึง 4 เริ่มต้นด้วยแก๊ส H และแก๊ส I เท่านั้น ส่วนการทดลองที่ 5 เริ่มต้นด้วยแก๊สHI
จากสมการของปฏิกิริยาสมดุล ถ้าแก๊ส H2 1 โมล ทำปฏิกิริยาพอดีกับแก๊ส I2 1 โมล เกิดแก๊ส HI 2 โมล จากข้อมูลในตาราง 1 จะได้ว่า แก๊ส H2 หรือ I2 ทำปฏิกิริยาเกิดแก๊ส HI จำนวนโมล เป็น 2 เท่าของจำนวนโมลของH2 หรือ I2 ที่ใช้ไป และแก๊ส HI สลายให้แก๊ส H2 และแก๊ส I2 ที่มีจำนวนโมลเท่ากัน
ทดลองคำนวณหาอัตราส่วนความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้น ที่ภาวะสมดุลามความสัมพันธ์ต่อไปนี้






จากผลการทดลอง สามารถสรุปได้ว่า “ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ไม่ว่าจะเริ่มต้นจากสารตั้งต้นที่มีความเข้มข้นเท่าใดก็ตาม ถ้าระบบเข้าสู่ภาวะสมดุล ความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในระบบจะมีค่าคงที่ ซึ่งนำความเข้มข้นของสารต่าง ๆ มาหาความสัมพันธ์กัน พบว่า อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดยกกำลัง ด้วยตัวเลขบอกจำนวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ กับผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือแต่ละชนิดยกกำลัง ด้วยตัวเลขบอกจำนวนโมลของสารตั้งต้นนั้น จะได้ค่าคงที่เสมอ ณ อุณหภูมิคงที่ เรียกว่า ค่าคงที่สมดุล”



จากตาราง 3 สรุปได้ว่า
1. ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่าง ๆ มีค่าแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสมการของปฏิกิริยาที่ดุลแล้ว
2. ค่าคงที่สมดุลจะมีค่าเป็นบวกมากกว่าหนึ่ง หรือน้อยกว่าหนึ่ง แต่จะไม่มีค่าเป็น ติดลบ
3. โดยทั่วไป ณ อุณหภูมิหนึ่งเมื่อค่าคงที่สมดุล มากกว่า 1 แสดงว่า ผลคูณของคามเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ มีค่ามากกว่าผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือ และถ้าคงที่สมดุลน้อยกว่า 1 แสดงว่าผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ มีค่าน้อยกว่าผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือ
4. ถ้าค่าคงที่สมดุลมีค่ามาก แสดงว่า ก่อนเกิดสมดุลปฏิกิริยาเกิดไปข้างหน้า (ดำเนินไปทางขวามือ) ได้มาก แต่ถ้าค่าคงที่สมดุลมีค่าน้อย แสดงว่าก่อนเกิดสมดุลเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าได้น้อย
5. ค่าคงที่สมดุลมีค่ามาก หมายความว่า ที่สมดุลจะเกิดผลิตภัณฑ์มาก สารตั้งต้นเหลือน้อยเช่น 2H2(g) + O2(g) < --------- > 2H2O(l) มีค่า
K = 1.4 x 1083 ที่ 298 K แสดงว่า ที่สมดุลเกิดผลิตภัณฑ์มาก จนถือว่าปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์
6. ค่าคงที่สมดุลมีค่าน้อย หมายความว่า ที่สมดุลเกิดผลิตภัณฑ์น้อย สารตั้งต้นเหลือมากเช่น N2(g) + O2(g) < --------- > 2NO(g) K= 4.5 x10-31 ที่ 298 K แสดงว่า ที่สมดุลเกิดผลิตภัณฑ์น้อยกว่าสารตั้งต้นที่เหลือมากแสดงว่าเกิดปฏิกิริยาน้อยมาก จนถือว่าปฏิกิริยาไม่เกิด


2.ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
การสังเคราะห์ CH3 OH(g) จาก CO(g) และ H2(g) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้


แต่ถ้ากลับสมการของปฏิกิริยาที่ (1) เป็น CH3OH(g) < --------- > CO(g) + 2H2(g)

แสดงว่า เมื่อเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีกลับกันกับสมการเดิม ค่า K ใหม่ที่จะได้มีค่าเป็นส่วนกลับกับค่า Kเดิม คือกลับเศษเป็นส่วนและส่วนเป็นเศษ
ถ้าสัมประสิทธิ์หน้าสูตรของสารในสมการเปลี่ยนไป ค่า K ก็มีค่าเปลี่ยนไปด้วย เช่น จากสมการของปฏิกิริยาที่
(1)
แสดงว่า เมื่อคูณตัวเลขใดเข้าไปในสมการของปฏิกิริยา ค่า K ใหม่ที่ได้จะต้องนำค่า K เดิมมายกกำลังด้วยตัวเลขที่คูณนั้น
สำหรับค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่เกิดจากปฏิกิริยาย่อยมารวมกัน จะมีค่าเท่ากับผลคูณของค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาย่อยเหล่านั้น เช่น แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทำปฏิกิริยากับแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ เกิดแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ และแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์




ถ้าปฏิกิริยาซัลเฟอร์ไดออกไซด์กับแก๊สไนโตรเจนไดออก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The State of equilibrium of a break Come up with a solution of a weak electrolyte in water, some will break it ion. While some of the molecular ion combinations of conditions to balance the different rate of the ion is equal to the combined ratio is a molecule. Called balance of different samples For example, solubility of haidonsaiyanik acid (HCN) in the sample is no part of the HCN ion which is the forward reaction. ข. balance of the melt. Come up with a solution of electrolyte to the electrolyte or bedroom – in saturated and solid remains. When the electrolyte as well as NaCI or non-electrolyte such as C6H12O6 melt in water. At first, these solid solubility equilibrium conditions have not occurred, but when more of the ice into the water until it is saturated with dissolved nutrients balance occurs. Crystalline solid, soluble in water, which is part of the forward reaction. At the same time, the substance in the aqueous solution is a combination of saturated crystalline solid, new, which is the reverse reaction. The global imbalance, the rate of the forward reaction (melting rate) is equal to the rate of the reverse reaction (rate of crystallization) is called the equilibrium of the melt.For example, the balance of the solubility of I2 in a solvent mixture of water with a seal which is thano melting of non-electrolyte when I2 soluble in aqueous solution have been saturated with thano contains crystals of I2 remains, there will be a balanced condition occurs. In the case of insolvency of the electrolyte as well, such as the same balance of melting occurs, such as the melting of CuSO 4. In the water. When an aqueous solution of saturated aqueous solution will be fixed (blue of the Cu2 +) and CuSO4 crystals remains. You will see that the resulting solution can have two types of balance balance of different balances and melt.The balance of the break will occur with an aqueous solution of electrolyte balance of soft and melting will occur with an aqueous solution of electrolyte as part of.Or soak the electrolyte solution, it must be located in a saturated condition (if not a saturated aqueous solution will no longer load causes)Balanced chemical reaction in 2.1Chemical changes can also balance condition occurs, as well as physical changes, named according to the characteristics of the reaction occurs. By chemical reaction in General is changing the dynamic equilibrium reversible to either end, but it may take longer to reach equilibrium conditions is not equal to the general equation is written as follows: .3 the relationship between concentrations of various substances at equilibrium conditions..NN3D1 constant equilibrium with a chemical equation1. the equilibrium constant.Balanced system of H2-I2-HI to do the experiment with different quantities of substances react together susom 731 K temperature balance: balanced reaction equation is: H2 (g) + I2 (g) < --------- > 2HI(g) The experiment found that tables 1 to 4 starting with H I gas and gas only. The trial started with HI 5 gasFrom the equation of the reaction equilibrium if 1 mol H2 gas react to fit gas gas I2 2 1 mol MOL HI was born from the data in table 1 is that H2 gas or gas occurs react I2 HI how many moles is 2 times the number of moles of H 2 or I2 gas and used "HI, H2 and I2 gas gas have the same number of moles.Trial calculation of the ratio of product concentrations with the precursor conditions appropriate for remembrance of the following associated lamok. From the experimental results. To conclude that "the reaction is not reversible whether it originates from a precursor concentrations regardless if the system reaches equilibrium conditions the concentration of various chemicals in the system is constant, the concentration of various substances for correlation between the ratio was found to be the product of the intensity of each type of product to a power by the number of moles of products lekbok to the product of the concentrations of the precursor to each remaining power by lekbok the number of moles of a precursor that has been a constant, always at a constant temperature is called the equilibrium constant," he said. Table 3 summarizes the1. the reaction equilibrium constant values vary depending on the equation of the reaction already balance.2. a constant load, there will be a positive for more than one or less than one, but it will not have a negative.3. in General, the temperature at a constant value when the balance is greater than 1 indicates that the product of the concentration of the products against. Is greater than the product of the concentrations of the precursor, and if the remaining balance on less than 1 indicates that the product of the concentration of the product. Is less than the product of the concentration of the remaining precursor?4. If the balance is showing that before the forward reaction occurs, balance (carry the right tools) but if the equilibrium constant is less. Indicates that the first balance reaction forward a little.5. There are many equilibrium constant value, it means that the product will be balanced. Precursor is low, such as 2H2 (g) + O2 (g) <---------> 2H2O (l) is.K = 1.4 x 1083 at 298 K indicates that the balance arising excessive product is considered a complete reaction occur.6. a constant load is less balanced, meaning that the resulting product is less. More on precursor, such as N2 (g) + O2 (g) <---------> 2NO (g) K = 4.5 x10-31 at 298 K show that the equilibrium product less than occurred precursor reaction shows how much was left little to treat the reaction does not occur. 2. chemical equilibrium with a constant, equation,(G) OH CH3 synthesis from CO (g) and H2 (g) reacted as follows: But if they back the reaction equation (1) as CH3OH (g) <---------> CO (g) + 2H2 (g) Shows how to write the equation of a chemical reaction with the original equation back. The new K values that will have value as the inverse of the value returned is the original fraction K is the best and the best is scrap.If the coefficient in front of the formula of the substance in the equation has changed. The K values are changed as well as from the equation for the reaction. (1) Shows how to do multiply numbers into the equation of the reaction K new K values are required to present the original came with a number raised to a power factor.For a constant equilibrium of the reaction caused by the combination of sub-reaction is equal to the product of equilibrium constants of reactions to them, such as gas, sulfur dioxide, nitrogen dioxide gas react with the. B. gas, sulphur and nitrogen monoxide gas traioksai If the principal verb sulfur dioxide to nitrogen gas, anhydrous.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ก. สมดุลของการแตกตัว เกิดขึ้นกับการละลายของอิเล็กโทรไลต์อ่อนในน้ำ บางส่วนจะแตกตัวเป็นไอออน ในขณะที่บางส่วนของไอออนจะรวมกันโมเลกุลเมื่อถึงภาวะสมดุลอัตราการแตกตัวเป็นไอออนจะเท่ากับอัตราการรวมกันเป็นโมเลกุล เรียกว่า สมดุลของการแตกตัว ตัวอย่างเช่นการละลายของกรดไฮโดรไซยานิก (HCN) ในน้อ HCN จะแตกตัวบางส่วนเป็นไอออนซึ่งจัดว่าเป็นปฏิกิริยาไปข้างหน้า


ข. สมดุลของการละลาย เกิดขึ้นกับการละลายของอิเล็กโทรไลต์แก่หรือนอน – อิเล็กโทรไลต์ที่อยู่ในภาวะอิ่มตัวและมีของแข็งเหลืออยู่ เมื่อนำอิเล็กโทรไลต์แก่เช่น NaCI หรือนอน-อิเล็กโทรไลต์ เช่น C6H12O6 ละลายในน้ำ ในตอนแรกของแข็งเหล่านี้จะละลายได้หมดไม่มีภาวะสมดุลเกิดขึ้น แต่เมื่อเติมของแข็งลงไปในน้ำเรื่อย ๆ จนได้สารละลายอิ่มตัวจะมีภาวะสมดุลเกิดขึ้น ผลึกของแข็งส่วนหนึ่งจะละลายในน้ำซึ่งเป็นปฏิกิริยาไปข้างหน้า ในขณะเดียวกันสารที่อยู่ในสารละลายอิ่มตัวจะรวมกันเกิดเป็นผลึกของแข็งขึ้นมาใหม่ซึ่งเป็นปฏิกิริยาย้อนกลับ ที่ภาวะสมดุลอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า (อัตราการละลาย) จะเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ (อัตราการตกผลึก) เรียกว่า สมดุลของการละลาย
ตัวอย่างเช่นสมดุลของการละลายของ I2 ในตัวทำละลายผสมระหว่างน้ำกับเอธานอล ซึ่งจัดว่าเป็นการละลายของนอน – อิเล็กโทรไลต์เมื่อ I2 ละลายในเอธานอลจนได้สารละลายอิ่มตัว มีผลึกของ I2 เหลืออยู่จะมีภาวะสมดุลเกิดขึ้น


ในกรณีการละลายของอิเล็กโทรไลต์แก่ก็เช่นเดียวกัน จะมีสมดุลของการละลายเกิดขึ้น เช่น การละลายของCuSO4 ในน้ำ เมื่อสารละลายอิ่มตัวสีของสารละลายจะคงที่ (สีฟ้าของ Cu2+) และมีผลึก CuSO4 เหลืออยู่


จะเห็นได้ว่าการเกิดสารละลายสามารถมีภาวะสมดุลได้ 2 ประเภทคือสมดุลของการแตกตัวและสมดุลของการละลาย
สมดุลของการแตกตัวจะเกิดขึ้นกับการเกิดสารละลายของอิเล็กโทรไลต์อ่อนและสมดุลของการละลายจะเกิดขึ้นกับการเกิดสารละลายของอิเล็กโทรไลต์แก่
หรือนอนอิเล็กโทรไลต์ โดยที่สารละลายนั้นจะต้องอยู่ในภาวะอิ่มตัว (ถ้าไม่ใช่สารละลายอิ่มตัวจะไม่เกิดภาวะสมดุล)

2.1 สมดุลในปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีก็สามารถเกิดภาวะสมดุลได้เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามลักษณะของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น เช่น



โดยทั่ว ๆ ไปปฏิกิริยาเคมีที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบผันกลับได้ จะเกิดสมดุลไดนามิกได้ทั้งสิ้น แต่อาจจะใช้เวลาในการดำเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลไม่เท่ากับ เขียนเป็นสมการทั่ว ๆ ไปได้ดังนี้








.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล
.3.1 ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
1.ค่าคงที่สมดุล
ระบบสมดุลของ H2-I2-HI โดยทำการทดลองสารที่มีปริมาณต่าง ๆ ทำปฏิกิริยากันเข้าสู่สมดุลที่อุณหภูมิ 731Kดังสมการของปฏิกิริยาสมดุล คือ
H2 (g) + I2 (g) < --------- > 2HI(g)


ตารางพบว่า การทดลองที่ 1 ถึง 4 เริ่มต้นด้วยแก๊ส H และแก๊ส I เท่านั้น ส่วนการทดลองที่ 5 เริ่มต้นด้วยแก๊สHI
จากสมการของปฏิกิริยาสมดุล ถ้าแก๊ส H2 1 โมล ทำปฏิกิริยาพอดีกับแก๊ส I2 1 โมล เกิดแก๊ส HI 2 โมล จากข้อมูลในตาราง 1 จะได้ว่า แก๊ส H2 หรือ I2 ทำปฏิกิริยาเกิดแก๊ส HI จำนวนโมล เป็น 2 เท่าของจำนวนโมลของH2 หรือ I2 ที่ใช้ไป และแก๊ส HI สลายให้แก๊ส H2 และแก๊ส I2 ที่มีจำนวนโมลเท่ากัน
ทดลองคำนวณหาอัตราส่วนความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์กับสารตั้งต้น ที่ภาวะสมดุลามความสัมพันธ์ต่อไปนี้






จากผลการทดลอง สามารถสรุปได้ว่า “ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ไม่ว่าจะเริ่มต้นจากสารตั้งต้นที่มีความเข้มข้นเท่าใดก็ตาม ถ้าระบบเข้าสู่ภาวะสมดุล ความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในระบบจะมีค่าคงที่ ซึ่งนำความเข้มข้นของสารต่าง ๆ มาหาความสัมพันธ์กัน พบว่า อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดยกกำลัง ด้วยตัวเลขบอกจำนวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ กับผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือแต่ละชนิดยกกำลัง ด้วยตัวเลขบอกจำนวนโมลของสารตั้งต้นนั้น จะได้ค่าคงที่เสมอ ณ อุณหภูมิคงที่ เรียกว่า ค่าคงที่สมดุล”



จากตาราง 3 สรุปได้ว่า
1. ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่าง ๆ มีค่าแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสมการของปฏิกิริยาที่ดุลแล้ว
2. ค่าคงที่สมดุลจะมีค่าเป็นบวกมากกว่าหนึ่ง หรือน้อยกว่าหนึ่ง แต่จะไม่มีค่าเป็น ติดลบ
3. โดยทั่วไป ณ อุณหภูมิหนึ่งเมื่อค่าคงที่สมดุล มากกว่า 1 แสดงว่า ผลคูณของคามเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ มีค่ามากกว่าผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือ และถ้าคงที่สมดุลน้อยกว่า 1 แสดงว่าผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ มีค่าน้อยกว่าผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือ
4. ถ้าค่าคงที่สมดุลมีค่ามาก แสดงว่า ก่อนเกิดสมดุลปฏิกิริยาเกิดไปข้างหน้า (ดำเนินไปทางขวามือ) ได้มาก แต่ถ้าค่าคงที่สมดุลมีค่าน้อย แสดงว่าก่อนเกิดสมดุลเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าได้น้อย
5. ค่าคงที่สมดุลมีค่ามาก หมายความว่า ที่สมดุลจะเกิดผลิตภัณฑ์มาก สารตั้งต้นเหลือน้อยเช่น 2H2(g) + O2(g) < --------- > 2H2O(l) มีค่า
K = 1.4 x 1083 ที่ 298 K แสดงว่า ที่สมดุลเกิดผลิตภัณฑ์มาก จนถือว่าปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์
6. ค่าคงที่สมดุลมีค่าน้อย หมายความว่า ที่สมดุลเกิดผลิตภัณฑ์น้อย สารตั้งต้นเหลือมากเช่น N2(g) + O2(g) < --------- > 2NO(g) K= 4.5 x10-31 ที่ 298 K แสดงว่า ที่สมดุลเกิดผลิตภัณฑ์น้อยกว่าสารตั้งต้นที่เหลือมากแสดงว่าเกิดปฏิกิริยาน้อยมาก จนถือว่าปฏิกิริยาไม่เกิด


2.ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
การสังเคราะห์ CH3 OH(g) จาก CO(g) และ H2(g) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้


แต่ถ้ากลับสมการของปฏิกิริยาที่ (1) เป็น CH3OH(g) < --------- > CO(g) + 2H2(g)

แสดงว่า เมื่อเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีกลับกันกับสมการเดิม ค่า K ใหม่ที่จะได้มีค่าเป็นส่วนกลับกับค่า Kเดิม คือกลับเศษเป็นส่วนและส่วนเป็นเศษ
ถ้าสัมประสิทธิ์หน้าสูตรของสารในสมการเปลี่ยนไป ค่า K ก็มีค่าเปลี่ยนไปด้วย เช่น จากสมการของปฏิกิริยาที่
(1)
แสดงว่า เมื่อคูณตัวเลขใดเข้าไปในสมการของปฏิกิริยา ค่า K ใหม่ที่ได้จะต้องนำค่า K เดิมมายกกำลังด้วยตัวเลขที่คูณนั้น
สำหรับค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่เกิดจากปฏิกิริยาย่อยมารวมกัน จะมีค่าเท่ากับผลคูณของค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาย่อยเหล่านั้น เช่น แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทำปฏิกิริยากับแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ เกิดแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ และแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์




ถ้าปฏิกิริยาซัลเฟอร์ไดออกไซด์กับแก๊สไนโตรเจนไดออก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
A.The balance of the breaks. Happen to dissolution of weak electrolyte in the water, some are broken down into ions. While some of the molecular ions are combined when the equilibrium rate of ionization is equal to the rate of the combination is a molecule.The balance of the cracking. For example, the dissolution of the HCN (HCN) in young HCN will break down some เป็นไอออน, which is considered as the forward reaction
.

.The balance of the dissolution. Happen to dissolution of strong electrolyte or sleep - electrolyte in saturation condition, and have strong left. The strong electrolyte such as NaCI or sleep - electrolyte, such as C6H12O6 dissolves in water.But when filling solid into the water around it saturated solution is equilibrium occurs. Solid crystal part will dissolve in the water, which is the reaction forward.At the equilibrium reaction rate forward (dissolution rate) is equal to the rate of the reaction rate of return (crystallization) called. The balance of solubility
.For example, the balance of the dissolution of the I2 in mixed solvents between water and ethanol. Which is considered as the melting of sleep - electrolyte when I2 dissolved in ethanol and saturated solution had a deep I2 left will be equilibrium occurs.


.In the case of dissolution of strong electrolyte are also the same. A balance of melting occurs, such as the dissolution of the CuSO4 in water. When saturated aqueous solution is constant (the colours of blue Cu2) effect and crystallization. CuSO4 left


.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: